Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69015
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพลิน ภู่จีนาพันธุ์-
dc.contributor.authorศตคุณ ไชยพลen_US
dc.date.accessioned2020-07-22T04:05:32Z-
dc.date.available2020-07-22T04:05:32Z-
dc.date.issued2015-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69015-
dc.description.abstractThe study “Impacts of Policy Implementation in Bachelor Degree Monthly Salaries Increase towards Local Administration, Chiang Mai Province” aimed to 1) study the impacts of the implementation of the government’s 15,000 baht minimum monthly salary policy on Chiang Mai local administrations, and 2) investigate problems and obstacles in implementing the government’s 15,000 baht minimum monthly salary policy of Chiang Mai local administrations. This study employed qualitative research methodology and survey research methodology by using documentary research and questionnaire survey. The questionnaire respondents were 417 administrators, deputies, and officials from 139 Chiang Mai local administrations. Moreover, the data was analyzed by descriptive data analysis method. The data revealed that the 15,000 baht minimum monthly salary policy, a public policy, was formulated by the government as the activity frameworks which aimed at enhancing the quality of life of the citizens according to the state of the society. In addition, since a political system and the citizens have been intertwined, a public policy, established by the government as a political result, was developed to solve public’s problems. The policy was supported through processes, plans, and projects, or by the different organizations. Furthermore, it was found that there were various authorities in establishing the increase of monthly salary policy which affected the ability of the organizations to implement the policy to conform to the authorities in the local administrations. This relied on limited resources to manage the organizations to achieve the objectives which depended heavily on the ability and income of each organization. However, because of different sizes of the local administrations in Chiang Mai, the management of each organization was different according to its context which, consequently, affected the local administrations in different aspects. In terms of solutions to the problems, it was found that the government’s monthly salary increase policy had both positive and negative impacts on the local administrations because the implementation of the policy caused the imbalanced of the organizations’ income and expenses. Though this top-down policy had to be followed, according to bureaucratic system, the local administrations could manage the problems by employing the decentralization of local administration. Therefore, in order to implement the policy which increased the long term expenses, there should be a consideration process based on authorities and context of each community. In addition, the administrators of the local administrations should equally treat the staff members and be aware of the proportion of the amount of work to the staff. They should also study local contexts and other factors to find out methods in implementing the policy. For the future research, it can be suggested that since this study has investigated the impacts of the implementation of the government’s monthly salary increase policy on the local administrations in Chiang Mai, there should be more studies on the guidelines or frames in implementing the policy in order to similarly establish the policy in different communities with different contexts.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเงินเดือนen_US
dc.subjectเงินเดือนปริญญาตรีen_US
dc.subjectองค์กรปกครองท้องถิ่นen_US
dc.titleผลกระทบของนโยบายการปรับเพิ่มเงินเดือนปริญญาตรีต่อองค์กรปกครองท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeImpacts of policy implementation in bachelor degree monthly salalies increase towards local administration, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc331.125-
thailis.controlvocab.thashเงินเดือน -- นโยบายของรัฐ-
thailis.controlvocab.thashเงินเดือน-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 331.125 ศ141ผ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษา เรื่อง ผลกระทบของนโยบายการปรับเพิ่มเงินเดือนปริญญาตรี ต่อองค์กรปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาผลกระทบทีมีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ที่เกิดจากการปฏิบัติตามนโยบายการปรับเพิ่มเงินเดือนปริญญาตรี 15,000 บาทของรัฐ 2.เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคที่มีผลต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ในการปฏิบัติตามนโยบายการปรับเพิ่มเงินเดือนปริญญาตรี 15,000 บาท ของรัฐบาล ผู้วิจัยใช้วิธีศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผสมผสานกับข้อมูลการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยทำการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) และใช้วิธีตอบแบบสอบถามของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 417 ชุด จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และบุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 139 แห่งในจังหวัดเชียงใหม่ โดยข้อมูลทั้งหมดจะถูกนำมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสถิติทางคอมพิวเตอร์และบรรยายในรูปแบบเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) ผลการศึกษาพบว่า นโยบายการปรับเพิ่มเงินเดือนปริญญาตรี15,000 บาท ซึ่งเป็นนโยบายสาธารณะที่รัฐบาลกำหนดขึ้นเพื่อเป็นกรอบแนวทางในการดำเนินกิจกรรมของรัฐโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการที่จะยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ให้สอดคล้องกับสภาพสังคม เนื่องด้วยระบบการเมืองกับประชาชนมีความเกี่ยวเนื่องและเชื่อมโยงกันยากที่จะแยกออกจากกันได้ นโยบายสาธารณะที่รัฐกำหนดย่อมเป็นผลผลิตทางการเมือง ที่ถูกกำหนดขึ้นก็เพื่อที่จะแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชน ผ่านกระกระบวนการ แผนงาน โครงการ หรือหน่วยงานต่าง ๆ เป็นผู้สนับสนุน นโยบายการปรับเพิ่มเงินเดือนดังกล่าว พบว่าการก่อรูปของนโยบายมีความหลากหลายทั้งด้านอำนาจและหน้าที่ ซึ่งมีผลต่อความสามารถขององค์กรที่จะรับนโยบายนั้นไปปฏิบัติเพื่อให้สอดคล้องกับอำนาจหน้าที่ในการปกครองท้องถิ่น ที่ต้องอาศัยการจัดสรรทรัพยากร ต่าง ๆ ที่มีจำกัดให้การบริหารองค์กรเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถและรายได้ขององค์กรเป็นปัจจัยสำคัญ ซึ่งแต่ละองค์กรปกครองท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ต่างมีขนาดที่แตกต่างกัน ทำให้การบริหารองค์กรย่อมจะแตกต่างกันไปตามบริบท และสิ่งแวดล้อม จึงทำให้เกิดผลกระทบต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านต่าง ๆ ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไขปัญหา จากการศึกษาผู้วิจัยเห็นว่า นโยบายการปรับนโยบายการปรับเพิ่มเงินเดือนของรัฐบาลมีผลกระทบ ทั้งด้านบวกและด้านลบต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เนื่องจากการปฏิบัติตามนโยบายไม่ก่อให้เกิดความสมดุลในเรื่องของรายรับและรายจ่ายขององค์กร เป็นการกำหนดนโยบายโดยรัฐเบื้องบน ที่มีอำนาจในการกำหนดให้ระบบราชการต้องปฏิบัติตาม แต่ในความเป็นจริงแล้วองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสามารถในการบริหารจัดการปัญหาต่างๆ ด้วยตนเอง ด้วยการกระจายอำนาจในการปกครองท้องถิ่นที่ได้กำหนดเป็นกฎหมายไว้ ดังนั้นในการนำนโยบายดังกล่าวมาปฏิบัติเป็นการเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายทางการคลังในระยะยาว ดังนั้น ในการนำนโยบายมาปฏิบัติต้องมีการพิจารณาผ่านกระบวนการพิจารณาบนฐานอำนาจและตามบริบทของแต่ละท้องถิ่น ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรให้ความสำคัญกับบุคลากรอย่างเท่าเทียมกัน และคำนึงถึงปริมาณงานกับจำนวนคนให้มีความสอดคล้องกันให้มากขึ้นและนำบริบทด้านพื้นที่ ปัจจัยด้านอื่นๆมาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางในการนำนโยบายมาปฏิบัติร่วมกัน ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาครั้งต่อไป ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษา ผลกระทบที่มีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ที่เกิดจากการปฏิบัติตามนโยบายการปรับเพิ่มเงินเดือนของรัฐบาลต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ได้นำนโยบายมาปฏิบัติแล้วส่งผลกระทบในด้านต่าง ๆ ดังนั้นในการศึกษาครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมถึงแนวทางความชัดเจนหรือกรอบในการนำนโยบายการปรับเพิ่มเงินเดือนของรัฐบาล เพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับบริบทท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกันไม่ให้แตกต่างกันen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.