Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68986
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ สริตา ธีระวัฒน์สกุล-
dc.contributor.authorณัชพันธ์ มานพen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:52:16Z-
dc.date.available2020-07-21T05:52:16Z-
dc.date.issued2014-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68986-
dc.description.abstractThe objectives of this descriptive study are to research the perception of warning signs and risk factors of stroke and to compare said perception between two sample groups: 291 of those with high blood pressure and 284 of those who are at risk of high blood pressure, in Namjo Subdistrict, Maeta District, Lampang. The data were collected by using interview. Descriptive statistics and t-test were used to analyze. The results showed that 42.6% of the high blood pressure group and 47.0% of the risk group had demonstrated high level of perception of warning signs respectively. Both groups had similar average in their mean score of perception. In-depth analysis showed that the most perceived warning sign of stroke, varying from 62.2% to 64.8% were the following: 1) sudden weakness on one side of face, arm, or leg, 2) sudden numbness on one side of face, arm, or leg, and 3) sudden dizziness, headache, trouble walking or staying balanced. As for the perception of risk factors of stroke, 66.0% of the high blood pressure group and 74.6% of the risk group had demonstrated similarly high levels of perception. Both groups had similar mean score of perception. In-depth analysis showed that the top three most perceived risk factors, particularly high blood pressure, high cholesterol, and lack of regular exercise, were similarly identified by 72.2% of the high blood pressure group and 84.2% of the risk group. The results of this study will prove beneficial for public health authorities. The relevant persons should review the methods of education and advice for both who have high blood pressure and those who are at risk of high blood pressure in order to promote perception of their health risks and warning signs of stroke, which will help them change their risk behaviors to prevent stroke.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการรับรู้สัญญาณเตือนและปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativePerception of Stroke Warning Signs and Risk Factors Among Hypertensive Patients and Pre-hypertension in Namjo Tumbol, Mae Tha District, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การรับรู้สัญญาณเตือนและปัจจัยเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง และเปรียบเทียบการรับรู้สัญญาณเตือนและปัจจัยเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง ใน กลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 291 คน และกลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง จำนวน 284 คน ที่อาศัยอยู่ในตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง รวบรวมข้อมูลโดยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยสถิติ t-test ผลการศึกษาพบว่า ทั้งกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มเสี่ยงสูง มีการรับรู้สัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมองในระดับสูง เพียงร้อยละ 42.6 และ 47.0 ตามลำดับ มีค่าเฉลี่ยการรับรู้พอ ๆ กัน เมื่อวิเคราะห์การรับรู้รายข้อ พบการรับรู้สัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมองมากที่สุด ร้อยละ 62.2 - 64.8 ใน 3 กลุ่มอาการ คือ 1) อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อใบหน้าหรือแขนหรือขาข้างใดข้างหนึ่งทันทีทันใด 2) อาการชาของกล้ามเนื้อใบหน้าหรือแขนหรือขาข้างใดข้างหนึ่งทันทีทันใด และ 3) อาการมึนงง เวียนศีรษะ เดินเซ เดินลำบาก อย่างทันทีทันใด การรับรู้ปัจจัยเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง พบว่า กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีการรับรู้ปัจจัยเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในระดับสูง ร้อยละ 66.0 เปรียบเทียบกับ กลุ่มเสี่ยงสูงที่พบในสัดส่วนมากกว่าเล็กน้อย คือ ร้อยละ 74.6 โดยมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้พอ ๆ กัน เมื่อวิเคราะห์การรับรู้รายข้อ พบว่า ปัจจัยเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่รับรู้มากที่สุด 3 ลำดับแรก ใกล้เคียงกันทั้งกลุ่มผู้ป่วยโรคความ ดันโลหิตสูงและกลุ่มเสี่ยงสูง คือ ภาวะความดันโลหิตสูง การมีระดับไขมันในเลือดสูงและการไม่ได้ออกกำลังกายเป็นประจำ ในสัดส่วนร้อยละ 72.2 - 84.2 ผลการศึกษาครั้งนี้ มีประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้เกี่ยวข้อง ในการนำไปทบทวนวิธีการให้ความรู้และคำแนะนำแก่กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง ทั้งผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและกลุ่มเสี่ยงสูงเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรับรู้ภาวะเสี่ยงของตนเอง รวมทั้งสัญญาณเตือนที่บ่งบอกว่าจะเกิดโรคหลอดเลือดสมอง เพื่อจะได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดสมองต่อไปen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.