Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68954
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorนายอนุรักษ์ ศรีรัตนาวรกุลen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:42:16Z-
dc.date.available2020-07-21T05:42:16Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68954-
dc.description.abstractThe purposes of this study, Awareness of Furama Chiang Mai Hotel Employees Towards Social Insurance System were 1) to analyze the awareness of Furama Chiang Mai hotel employees towards the concept, principles, and benefits of the social insurance system, 2) to study the demand and acceptance to be insured in the social insurance system of Furama Chiang Mai hotel employees, 3) to analyze the factors that have an influence on acceptance of being insurers. Data collections were carried out through questionnaires. The target group was 162 Furama Chiang Mai hotel employees from 9 hotel departments. The results of the study were as follows: 1. The awareness of Furama Chiang Mai hotel employees towards the concept, principles, and benefits of the social insurance system at an average score of 4.02 and at the standard deviation of 0.45. 2. 70.99 per cent of hotel employees who needed and who were willing to be insured in the social insurance system. The employees stated that they were willing to be insured because they could get medical service and receive a pension fund after retirement. Meanwhile, 29.01 per cent of hotel employees refused to be insured because of poor service. The employees also stated that they already had savings in provident fund. 3. It was also found that the personal factors as gender, age, job, and salary had no influence towards the acceptance of being insurers. However, the awareness of the concept, principles, and benefits of the social insurance system affected the acceptance of the insured with statistically significant at 0.05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความตระหนักของพนักงานโรงแรมฟูราม่าเชียงใหม่ ต่อระบบการประกันสังคมen_US
dc.title.alternativeAwareness of Furama Chiang Mai Hotel Employees Towards Social Insurance Systemen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง ความตระหนักของพนักงานโรงแรมฟูราม่าเชียงใหม่ต่อระบบการประกันสังคม มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความตระหนักรับรู้เกี่ยวกับแนวคิด หลักการและสิทธิประโยชน์ ของการประกันสังคมของพนักงานโรงแรมฟูราม่าเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาความต้องการและการยอมรับในการเป็นผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมของพนักงานโรงแรมฟูราม่าเชียงใหม่ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับในการเป็นผู้ประกันตนในระบบ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นพนักงานของโรงแรมฟูราม่าเชียงใหม่ทั้งหมด 162 คนจาก 9 แผนก ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า 1. ความตระหนักรับรู้ของพนักงานโรงแรมฟูราม่าเชียงใหม่ ต่อแนวคิด หลักการ และสิทธิประโยชน์ของการประกันสังคม มีอยู่ในระดับค่อนข้างมาก ( = 4.02 , S.D. = 0.45) 2. พนักงานโรงแรมฟูราม่าเชียงใหม่ คิดเป็นร้อยละ 70.99 มีความต้องการและการยอมรับ ในการเป็นผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม โดยให้เหตุผลว่า การเป็นผู้ประกันตนทำให้ได้รับบริการทางการแพทย์ ได้รับบำนาญชราภาพหลังจากการเกษียณอายุ ส่วนพนักงาน ที่ไม่ต้องการและไม่ยอมรับเป็นผู้ประกันตน ร้อยละ 29.01 ให้เหตุผลว่า ไม่เคยเข้ารับบริการเพราะบริการไม่ดี ยุ่งยาก มีเงินสะสมในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของโรงแรมแล้ว 3. ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับในการเป็นผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม พบว่าปัจจัย ส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ แผนกงาน และระดับเงินเดือน ไม่มีผลต่อการเป็นผู้ยอมรับหรือไม่ยอมรับในการเป็นผู้ประกันตนของพนักงานโรงแรมฟูราม่าเชียงใหม่แต่ประการใด แต่ปัจจัยด้านความตระหนักรับรู้ ส่งผลถึงหลักการด้านและสิทธิประโยชน์ของการประกันสังคม และมีผลต่อการยอมรับหรือไม่ยอมรับต่อการเป็นผู้ประกันตนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.