Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68951
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorปฐมพงศ์ คำนิลen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:42:01Z-
dc.date.available2020-07-21T05:42:01Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68951-
dc.description.abstractThe purposes of the study of Perception and Awareness of People in Tapha Subdistrict, Mae Chaem District, Chiang Mai Province Towards Smog Problem were 1) To study the perception and the awareness of the people in Tapha about the effects from smog problem caused by burning the agricultural wastes. 2) To study the knowledge and understanding of the people in Tapha about the alternatives to manage the agriculture waste in order to prevent and solve the smog problem in the area. 3) To study the reasons that people still chose to use burning measures to destroy the agricultural wastes rather than choosing alternative choices to prevent and solve the smog problem in the area. 4) To study the needs of the people in Tapha regarding the involvement of the government to solve the combustion by collecting the data from the sample of 300 people. The results showed 1. Most people realised and were aware of the effects from the burning (with combined mean of 2.13): for example, they were aware of the risk of heart disease and chronic obstructive lung disease from breathing the tiny dust particles for long period of time. The respiratory problems increase every year in Chiang Mai, and the smog problem also caused eye and nose irritation, conjunctivitis, cough and throat inflammation. Furthermore, they also realised now it is the time that farmers stopped the combustion and use alternative methods in order to destroy the agricultural waste in Tapha which were corn stubbles and rice straws, besides the people could benefit from selling them. There were also some concerns about the toxicity to the members of their families. 2. For the knowledge and understanding of the people in Tapha found most of the people, with 75.34 per cent, had good knowledge and good understanding about alternative methods used to destroy the agricultural waste. 3. The reasons that people still use burning method, firstly because It was the most convenient and simple way. Secondly it had been a traditional way to do so since decades ago. Then there was no expense and finally no other ways to destroy the waste because of the landscape of the area which was steep and uphill. For the methods to destroy the agricultural wastes, the results found the common ways were use them as a compost or organic fertilizer, embedded, made charcoals from corn cob, trading with factories and et cetera, such as feed the animals and discard them by taking to another area. 4. Most of the local people who live in Tapha suggested that local people should have authority to invite private companies to invest in making charcoals from corn cob, and the government should sprinkle the water when the smog occur. And lastly the government should take control and punish people who set fires seriously.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการรับรู้และความตระหนักของประชาชนในตำบลท่าผา อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ต่อปัญหาหมอกควันen_US
dc.title.alternativePerception and Awarenees of People in Tapha Subdistrict Mae Chaem District, Chiang Mai Province Towards Smog Problemen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง การรับรู้และความตระหนักของประชาชนในตำบลท่าผา อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ต่อปัญหาหมอกควัน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการรับรู้และความตระหนัก ของประชาชนตำบลท่าผาเกี่ยวกับผลกระทบจากปัญหาหมอกควันที่เกิดจากการเผาเศษวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตร 2) ศึกษาความรู้ ความเข้าใจ ของประชาชนตำบลท่าผาเกี่ยวกับมาตรการทางเลือก ในการจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันในพื้นที่ 3) ศึกษาหาสาเหตุที่ทำให้ประชาชนในพื้นที่ยังใช้วิธีการเผาเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรแทน การจัดการตามทางเลือกของการป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันในพื้นที่ 4) ศึกษาความต้องการ ของประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าผาต่อการให้หน่วยงานภาครัฐเข้าไปจัดการส่งเสริมเพื่อป้องกัน การเผา โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ มีจำนวนทั้งสิ้น 300 คน ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1. การรับรู้และความตระหนักของประชาชนตำบลท่าผาพบว่าโดยรวมมีการรับรู้และ ความตระหนักต่อผลกระทบจากปัญหาหมอกควันที่เกิดจากการเผา ( = 2.13) เช่น รับรู้ว่า มีความเสี่ยงจากการเป็นโรคหัวใจและถุงลมโป่งพองจากการสูดดมฝุ่นละอองขนาดเล็กเพิ่มขึ้นทุกปี ในทุกปีมีผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจในเชียงใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี และมลพิษหมอกควันที่เกิด จากการเผายังส่งผลให้เกิดอาการระคายเคืองตา แสบจมูก ตาแดง ไอ คออักเสบ เป็นต้น นอกจากนี้ความตระหนักยังพบว่า ถึงเวลาแล้วที่เกษตรกรต้องหยุดการเผาและใช้วิธีการอื่นๆ ในการกำจัดเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร (ตอซังข้าวโพด/ฟางข้าว) ในพื้นที่ตำบลท่าผาและอำเภอแม่แจ่มสามารถนำไปขายหรือใช้ประโยชน์อื่นๆได้มีความวิตกกังวลว่ามลพิษจากหมอกควัน ที่เกิดจากการเผาจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของท่านและคนในครอบครัว เป็นต้น 2. ความรู้ความเข้าใจของประชาชนในตำบลท่าผาเกี่ยวกับมาตรการทางเลือกในการจัดการ เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร พบว่าส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 75.34 มีความรู้ความเข้าใจในระดับสูง 3. สาเหตุที่ทำให้ประชาชนในตำบลท่าผา ยังใช้วิธีการเผาพบว่าสาเหตุที่ยังใช้วิธีการเผา อันดับ 1 เป็นวิธีการที่ง่ายและสะดวกที่สุด รองลงมาเป็นวิธีการที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการกำจัด ไม่สามารถจัดการโดยวิธีอื่นได้เพราะพื้นที่เป็นที่สูงลาดชันอยู่บนเขา และ ไม่มีความรู้ความสามารถ ส่วนวิธีการกำจัดเศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรแทนการเผาพบว่ามีการใช้ทำปุ๋ยหมักหรือ ปุ๋ยอินทรีย์มากที่สุด รองลงมาคือใช้วิธีการฝังกลบ ไถพรวน ทำถ่านอัดแท่งจากเศษซังข้าวโพด และ ขายให้โรงงานรวมทั้ง อื่นๆ เช่น ให้สัตว์เลี้ยงกิน นำไปทิ้งพื้นที่อื่น ตามลำดับ 4. ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าผา ส่วนใหญ่เสนอแนะให้ท้องถิ่นเป็นผู้นำ ในการส่งเสริมให้เอกชนมาลงทุนทำถ่านอัดแท่งจากซังข้าวโพด รองลงมา ให้ทางราชการควรมีการฉีดพ่นน้ำ ในกรณีที่เกิดภาวะหมอกควัน อันดับสามควรมีการจัดการจับกุมลงโทษผู้ที่เผาอย่างจริงจังen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.