Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68676
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยะพงษ์ เลาศรีรัตนชัยen_US
dc.contributor.authorศิริพร ปัญญาเมธีกุลen_US
dc.date.accessioned2020-05-20T04:41:51Z-
dc.date.available2020-05-20T04:41:51Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationมนุษยศาสตร์สาร 20,3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562) 97-124en_US
dc.identifier.issn2630-0370en_US
dc.identifier.urihttps://so03.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/202023/159261en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68676-
dc.descriptionมนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายนen_US
dc.description.abstractเหตุการณ์เกี่ยวเยาวชนติดถ้ำเมื่อเร็วๆ นี้เป็นหนึ่งในเหตุการณ์ที่ผู้คนรู้จักกันอย่างดี และไม่ใช่แค่เหตุการณ์เพียงอย่างเดียวที่ทำให้ผู้คนรู้จักเหตุการณ์นี้ แต่ยังเป็นเพราะความสำเร็จในการช่วยเหลือเยาวชนอันเนื่องมาจากความร่วมมือ ร่วมใจของผู้คนจากทั่วโลกอีกด้วย วัตถุประสงค์ของงานวิจัยชิ้นนี้คือ เพื่อวิเคราะห์ทัศนคติของผู้ใช้งานทวิตเตอร์ผ่านภาษาที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น คลังข้อมูลภาษาประกอบด้วยคำจำนวน 16,621 คำซึ่งเก็บรวบรวมจากภาษาที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็นในข่าวจากบัญชีทางการของสำนักข่าวบีบีซี (BBC) และซีเอ็นเอ็น (CNN) ในทวิตเตอร์และวิเคราะห์โดยพิจารณาจากความถี่ของคำ การวิเคราะห์คำสำคัญ การกระจายตัว โปรแกรม Linguistic Inquiry and Word Count (LIWC) และ Semantic Tagger ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าวลีที่ผู้ใช้ทวิตเตอร์กล่าวถึงมากที่สุดคือ “the boys” นอกจากนี้ เมื่อพิจารณากราฟการกระจายตัวพบว่าวลี “the boys” นั้นกระจายตัวอยู่ทั่วคลังข้อมูลภาษามากที่สุดเช่นกัน แสดงให้เห็นว่า “the boys” ซึ่งหมายถึงเยาวชนติดถ้ำเป็นประเด็นที่ผู้ใช้ทวิตเตอร์เป็นห่วงและให้ความสนใจมากที่สุด นอกจากนี้ ผลการวิจัยที่สอดคล้องกันของ LIWC และ Semantic Tagger แสดงให้เห็นว่า ผู้ใช้ทวิตเตอร์มีทัศนคติด้านบวกต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ และสรุปได้ว่า ไม่ว่าจะเกิดเหตุการณ์ใดขึ้น ผู้คนจากทั่วโลกยังคงสนับสนุนช่วยเหลือกันและกันเสมอ The recent incident regarding the Thai boys trapped in a cave is one that is well known. Not only the incident itself made it well-known but also the successful outcome due to cooperation of people worldwide. The purpose of this study was to analyse the attitudes of Twitter users through the language used in their comments. The corpus containing 16,621 tokens wascompiled by collecting the language used in the comments on news of the Thai cave boys from the BBC and CNN official accounts on Twitter.comand analysed using word frequency, keyword analysis, dispersion, Linguistic Inquiry and Word Count (LIWC), and Semantic Tagger. The results showed that the matter that the Twitter users mentioned most was “the boys”. Furthermore, when considering the dispersion plots, the words “boys” occurred most across the corpus. This showed that “the boys”wasthemost interesting issue and also most concerned by Twitter users. The correlation results of LIWC and Semantic Tagger showed that the users had positive attitudes towards this incident. Whatever happens, people from different parts of the world still support each other.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการศึกษาโดยใช้คลังข้อมูลภาษาเป็นฐานen_US
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.subjectเยาวชนติดถ้ำen_US
dc.subjectทวิตเตอร์en_US
dc.titleการศึกษาทัศนคติต่อเหตุการณ์เยาวชนติดถ้ำโดยใช้ภาษาศาสตร์ คลังข้อมูลเป็นฐานen_US
dc.title.alternativeA Corpus-Based Study of Attitudes towards the Incident of the Thai Cave Boysen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.