Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68627
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorหยาดเพชร ภู่พวงไพโรจน์en_US
dc.contributor.authorบุญชัย เชาวน์ไกลวงศ์en_US
dc.contributor.authorวิศนี เจียมหาทรัพย์en_US
dc.date.accessioned2020-05-20T04:41:49Z-
dc.date.available2020-05-20T04:41:49Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 41,1 (ม.ค.-มี.ค. 2563) น.117-135en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2563_41_1_544.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68627-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractระบบการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและการผลิตในทางทันตกรรม (CAD/CAM systems) เริ่มขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1971 และพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง โดยมีขั้นตอนการทำงานประกอบด้วยการใช้เครื่องสแกนดิจิทัลร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยดำเนินการออกแบบและสร้างชิ้นงานโดยอัตโนมัติ ข้อดีของระบบแคดแคมคือ สามารถสร้างชิ้นงานบูรณะที่มีความแม่นยำ ลดความผิดพลาดจากการทำงานของมนุษย์ที่ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงต่อความล้มเหลวเชิงกลของชิ้นงาน เพิ่มขีดความสามารถในการเลือกใช้วัสดุทางทันตกรรม เช่น วัสดุเซอร์โคเนียเซรามิกที่ตอบสนองต่อความต้องการทั้งด้านการใช้งานและความสวยงามประหยัดเวลาในการรักษา สร้างความสะดวกให้แก่ผู้และทันตแพทย์ รายงานฉบับนี้กล่าวถึงประวัติความเป็นมากระบวนการทำงานของระบบแคดแคม และการเปรียบเทียบการทำงานของระบบแคดแคมกับการทำงานแบบดั้งเดิม รวมถึงรายงานผู้ป่วยที่นำระบบแคดแคมเข้ามามีส่วนช่วยในการรักษาด้วยฟันเทียมติดแน่นและฟันเทียมถอดได้เพื่อการฟื้นฟูสภาพช่องปากป่วย In dentistry, CAD/CAM systems have been applied and developed in clinical practice since 1971. Nowadays, digital workflow systems which utilize a combination of digital oral scanner and computer programs have been developed to assist prosthesis designing and manufacturing. Thus, dental prostheses are automatically designed and manufactured by the systems. CAD/CAM systems have many advantages. Firstly, more precise restorations are made by elimination of human errors that cause higher risk of mechanical failure. Moreover, the use of CAD/CAM systems provides further selection of dental materials usage such as zirconia that served the need in esthetic and function aspects. Finally, this technology consumes less time in treatment procedures that is more convenient for patients and dentists. This report shows the history and workflow of CAD/ CAM systems, a comparison of CAD/CAM technique to conventional procedure, and a case report that used CAD/CAM systems to design and produce fixed and removable prostheses for oral rehabilitation.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectระบบแคดแคมen_US
dc.subjectการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ ออกแบบen_US
dc.subjectการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิตen_US
dc.subjectฟันเทียม ติดแน่นen_US
dc.subjectการฟื้นฟูสภาพช่องปากen_US
dc.subjectฟันเทียมถอดได้en_US
dc.subjectเซอร์ โคเนียเซรามิกen_US
dc.titleบทบาทของระบบแคดแคมในการฟื้นฟูสภาพช่องปาก : ทบทวนวรรณกรรม และรายงานผู้ป่วยen_US
dc.title.alternativeThe Role of CAD/CAM Systems in Oral Rehabilitation: Literature Review and Case Reporten_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.