Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68613
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณัฐชัย จรัสพันธุ์กุลen_US
dc.contributor.authorพิสัยศิษฏ์ ชัยจรีนนท์en_US
dc.date.accessioned2020-05-20T04:41:49Z-
dc.date.available2020-05-20T04:41:49Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 41,1 (ม.ค.-มี.ค. 2563) น.13-25en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2563_41_1_535.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68613-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractปัจจุบันความต้องการของการทำให้ฟันขาวโดยการฟอกสีฟันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งกระบวนการทำให้ฟันขาวเกิดจากปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation) ของสารเพอร์ออกไซด์ที่แทรกผ่านชั้นเคลือบฟัน (enamel) และเนื้อฟัน(dentin) ส่งผลให้สีของฟันโดยเฉพาะชั้นเนื้อฟันมีสีอ่อนลงทำให้ดูสว่างขึ้น โดยมีปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการฟอกสีฟัน คือ ความเข้มข้นและระยะเวลาที่ใช้ในการฟอก ซึ่งน้ำยาฟอกสีฟันความเข้มข้นสูงจะให้ผลลัพธ์การฟอกเร็วกว่าความเข้มข้นต่ำ แต่อย่างไรก็ตามหากยืดระยะเวลาในการฟอกออกไปพบว่าน้ำยาฟอกสีฟันความเข้มข้นต่ำสามารถให้ผลในการฟอกสีฟันเทียบเท่าความเข้มข้นสูงได้ นอกจากนี้การกระตุ้นด้วยแสง ความร้อน รวมทั้งสีเริ่มต้นของฟันสามารถส่งผลต่อการฟอกสีฟันได้เช่นกัน การวัดการเปลี่ยนแปลงสีฟันที่เกิดขึ้นสามารถวัดได้ด้วยการใช้สายตาเทียบกับชุดเทียบสี (shade guide) หรือการวัดการเปลี่ยนแปลงของสีฟันด้วยเครื่องมือวัดการดูดกลืนแสง (spectrophotometer) ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อยหลังจากการฟอกสีฟันคือ อาการเสียวฟัน ซึ่งปกติอาการเสียวฟันจะค่อยๆ ลดลง แต่การใช้โซเดียมฟลูออไรด์ (sodium fluoride) กับโพแทสเซียมไนเตรท (potassium nitrate)เป็นอีกทางเลือกที่ช่วยลดอาการเสียวฟันได้ นอกจากนี้การฟอกสีฟันสามารถก่อให้เกิดอาการระคายเคืองที่เหงือกหรือเยื่อบุในช่องปากรวมทั้งส่งผลต่อวัสดุบูรณะ และค่าความแข็งแรงยึดเฉือน (shear bond strength) ของวัสดุอุดบนฟัน Tooth whitening has been increase in the number of patients over recent years. Following previous literature, the mechanisms of tooth whitening was occurred by the diffusion of peroxide through enamel and dentin to cause oxidation that lighten of tooth color. The importance factors influencing tooth whitening efficacy are concentration and time which higher concentrations are faster than lower concentrations. However, lower concentrations can approach the efficacy of higher concentrations with extended treatment times. The light activated heat and initial tooth color can also influence tooth bleaching outcome. The method for measuring changes in tooth color are visual measurements by using shade guide and instrumental measurements using spectrophotometer. Tooth sensitivity is one of the side effect that commonly occur after tooth bleaching. However, the symptom will disappear shortly after the treatment ends. Sodium fluoride and potassium nitrate can also decrease the tooth sensitivity. Gingival or mucosal irritation and shear bond strength of composite to enamel or dentin are also effected by tooth whitening.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectbleaching gelen_US
dc.subjectbleaching mechanismen_US
dc.subjectcolor alterationen_US
dc.subjectcolor measurementen_US
dc.subjecttooth whiteningen_US
dc.subjecttooth sensitivityen_US
dc.titleการฟอกสีฟันในทางทันกรรม : ทบทวนวรรณกรรมen_US
dc.title.alternativeTooth Bleaching in Dentistry: A Review of the Literatureen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.