Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67469
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิลเนตร พานิชสิติen_US
dc.contributor.authorธนพรรณ วัฒนชัยen_US
dc.contributor.authorบุญศิวา ซูซูกิen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:46:50Z-
dc.date.available2020-04-02T14:46:50Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 39,2 (พ.ค.-ก.ย. 2561) 57-67en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2561_39_2_485.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67469-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำงานของกล้ามเนื้อแมสซีเตอร์และเทมโพราลิส ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีโครงสร้างแบบที่สาม โดยวัดด้วยเครื่องวัดคลื่นไฟฟ้า กล้ามเนื้อชนิดพื้นผิว ในผู้ที่ไม่เคยได้รับการจัดฟันที่มีโครงสร้างแบบที่สาม 30 ราย อายุ 18-34 ปี (เฉลี่ย 22.4 ปี) เทียบกับกลุ่มควบคุมที่มีโครงสร้างแบบที่หนึ่ง 30 ราย อายุ 18-35 ปี (เฉลี่ย 22.6 ปี) โดยวัดคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อในขณะกัดแรงเต็มที่บนสำลีม้วน และขณะกัดแรงเต็มที่นำค่าที่สูงสุดจากการกัดสำลีมาใช้เป็นค่ามาตรฐานเทียบกับค่าที่ได้จากการกัดแรงเต็มที่ หลังจากนั้นนำข้อมูลหลังเทียบค่ามาตรฐานแล้วมาคำนวณเป็นค่าเปอร์เซ็นเทจ โอเวอร์แลปปิง โคเอฟฟิเชียน (พีโอซี) และค่าทอร์คโคเอฟฟิเชียน (ทีซี) และนำค่าที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติการทดสอบทีสองกลุ่ม จากการศึกษาพบว่ากลุ่มโครงสร้างแบบที่สามมีค่าพีโอซีของกล้ามเนื้อแมสซีเตอร์ น้อยกว่ากลุ่มโครงสร้างแบบที่หนึ่งอย่างมีนัยสำคัญ แต่ไม่พบความแตกต่างในค่าพีโอซีของกล้ามเนื้อเทมโพราลิส และทีซีสรุปว่ากลุ่มโครงสร้างแบบที่สามมีความไม่สมมาตรของการทำงานของกล้ามเนื้อแมสซีเตอร์มากกว่ากลุ่มโครงสร้างแบบที่หนึ่งen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อen_US
dc.subjectกล้ามเนื้อแมสซีเตอร์en_US
dc.subjectกล้ามเนื้อเทมโพราลิสen_US
dc.subjectความสัมพันธ์ของโครงกระดูกแบบ ที่สามen_US
dc.titleคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อแมสซีเตอร์และเทมโพราลิสในผู้ป่วยที่มีความสัมพันธ์ของโครงกระดูกแบบที่สามen_US
dc.title.alternativeMasseter and temporalis muscle activity in patients with Class III skeletal relationshipsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.