Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67442
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฐิติมา มานะพัฒนเสถียรen_US
dc.contributor.authorจิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อen_US
dc.contributor.authorนงเยาว์ เกษตร์ภิบาลen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:46:50Z-
dc.date.available2020-04-02T14:46:50Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 45,1 (ม.ค.-มี.ค. 2561) 146-158en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/136199/101646en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67442-
dc.descriptionวารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลen_US
dc.description.abstractการติดเชื้อดื้อยาหลายขนานในโรงพยาบาล ถือเป็นปัญหาสำคัญของระบบสาธารณสุขไทย ส่งผลให้อัตราป่วยและอัตราตายของผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น การปฏิบัติตามแนวทางการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาหลายขนานจึงมีความสำคัญในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและลดการติดเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาหลายขนานสำหรับพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ คือ พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช จังหวัดลพบุรี จำนวน 42 คน ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่าย และดำเนินการวิจัยตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2557 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ในขั้นตอนการพัฒนา แบบทดสอบความรู้ระหว่างเรียนและหลังเรียนเรื่องการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาหลายขนาน แบบสอบถามความคิดเห็นและแบบสอบถามความพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา ผลการประเมินประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาหลายขนาน สำหรับพยาบาลวิชาชีพ พบว่ามีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.2/82.4 ดังนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีประสิทธิภาพของกระบวนการและผลลัพธ์ผ่านเกณฑ์ 80/80 ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างในด้านการออกแบบ เนื้อหาบทเรียน สื่อและมัลติมีเดีย และการนำไปใช้มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ซึ่งควรนำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาหลายขนานสำหรับพยาบาลวิชาชีพไปให้พยาบาลวิชาชีพอื่นได้ศึกษาจริง เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาหลายขนานให้มากยิ่งขึ้นen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการพัฒนาen_US
dc.subjectหนังสืออิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.subjectการป้องกันการติดเชื้อen_US
dc.subjectเชื้อดื้อยาหลายขนานen_US
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพen_US
dc.titleการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาหลายขนานสำหรับพยาบาลวิชาชีพen_US
dc.title.alternativeDevelopment of an Electronic Book on Prevention of Multidrug Resistance Organisms Transmission for Registered Nursesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.