Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67396
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนริสรา คงสุขen_US
dc.contributor.authorศิวัช สังข์ศรีทวงษ์en_US
dc.contributor.authorเวทชัย เปล่งวิทยาen_US
dc.contributor.authorกิตติมา กองทองen_US
dc.contributor.authorเสาวลักษณ์ แย้มหมื่นอาจen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:45:06Z-
dc.date.available2020-04-02T14:45:06Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 36, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2563), 145-153en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/216167/161481en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67396-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้เพื่อศึกษาคุณภาพการหมัก องค์ประกอบทางเคมีและการย่อยสลายในกระเพาะรูเมนของหญ้าเนเปียร์ปากช่อง1 ที่เสริมและไม่เสริม Lactobacillus plantarumBCC 65951 โดยทำการตัดหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 ที่อายุ 45 วัน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มที่ 1 หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 หมักแบบไม่เติม L. plantarumBCC 65951 (control) และกลุ่มที่ 2 หญ้าเนเปียร์ปากช่อง1 หมักแบบเติม L. plantarumBCC 65951 ในปริมาณ 107CFU ต่อกรัมหญ้าสด (LAB) เมื่อหญ้าหมักมีระยะการหมักได้ 21 วันนำหญ้าหมักที่ได้มาวิเคราะห์คุณภาพการหมักองค์ประกอบทางเคมีโดยวิธี Proximate analysis และวิเคราะห์เยื่อใยโดยวิธี Detergent fiber method และวิเคราะห์การย่อยสลายในกระเพาะรูเมนโดยวิธี in vitrogas production technique โดยใช้ของเหลวจากกระเพาะรูเมนของโคพื้นเมืองเจาะกระเพาะเพศผู้ จำนวน 4 ตัว โดยบ่มตัวอย่างเป็นเวลา 2, 4, 8, 10,12, 24, 48, 72 และ 96 ชั่วโมง จากการศึกษาคุณภาพการหมักพบว่า ปริมาณกรดแลกติก กรดอะซิติก กรดโพรพิโอนิกและแอมโมเนีย-ไนโตรเจนของ LAB สูงกว่า control อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.001) จากค่าองค์ประกอบทางเคมีของหญ้าเนเปียร์ปากช่อง1 หมัก พบว่า ปริมาณวัตถุแห้งของ control มีค่าสูงกว่า LAB อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) นอกจากนี้ปริมาณแก๊สสุทธิที่เกิดขึ้นในชั่วโมงที่ 2 ของ LAB สูงกว่า control (P<0.05) อย่างไรก็ตามปริมาณจุลินทรีย์ที่เกิดจาการหมัก ค่าพลังงานใช้ประโยชน์ได้ การย่อยได้ของอินทรียวัตถุ และปริมาณกรดไขมันระเหยได้ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) โดยการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่าการใช้ L. plantarumBCC 65951 ในหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 หมัก ทำให้มีปริมาณวัตถุแห้งลดลงและยังส่งผลให้หญ้าหมักมีกรดแลกติก กรดอะซิติก กรดโพรพิโอนิก และแอมโมเนียไนโตรเจนสูง อีกทั้งยังมีการย่อยสลายในกระเพราะรูเมนช่วง 2 ชั่วโมงแรกได้ดีกว่าอีกด้วยen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectLactobacillus plantarumBCC 65951en_US
dc.subjectหญ้าเนเปียร์ปากช่อง1 หมักen_US
dc.subjectการผลิตแก๊สในหลอดทดลองโคพื้นเมืองen_US
dc.titleผลของการเสริม Lactobacillus plantarumBCC 65951 ต่อคุณภาพการหมักของหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1หมัก โดยวิธีวัดแก๊สในห้องปฏิบัติการและการย่อยสลายในกระเพาะรูเมนen_US
dc.title.alternativeEffects of Lactobacillus plantarum BCC 65951 Inoculation on Fermentation Quality of Napier Pakchong 1 Silage by In vitro Gas Production Technique and Ruminal Degradabilityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.