Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67366
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปริญญา พัฒนวสันต์พรen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:45:05Z-
dc.date.available2020-04-02T14:45:05Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 88-101en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_3/08.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67366-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractในปัจจุบันนี้ที่มีสภาวะการแข่งขันสูง ทุกบริษัทจำเป็นต้องลดเวลานำ (Lead Time) ทำให้ต้นทุนต่ำที่สุด และมีระดับการให้บริการลูกค้าสูงเพื่อความอยู่รอด การศึกษาในครั้งนี้จึงเสนอแนวทางในการลดเวลานำ และรอบเวลา (Cycle Time) ในการทำงาน พร้อมทั้งระบุขั้นตอนและเวลาการทำงานของพนักงานให้เป็นมาตรฐาน และจัดทำคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานเพื่อเป็นฐานข้อมูลให้แก่บริษัท โดยผู้วิจัยได้ศึกษากระบวนการบรรจุหีบห่อมะม่วงสดพันธุ์น้ำดอกไม้สีทองของบริษัทผู้ส่งออกผักและผลไม้สด โดยสามารถแบ่งปัญหาออกเป็น 5 ปัญหา ซึ่งผู้วิจัยได้เลือกทำการปรับปรุง 3 ปัญหาเเรกที่ส่งผลกระทบต่อบริษัทมากที่สุดคือ 1) ไม่มีเวลามาตรฐานในแต่ละขั้นตอน 2) พนักงานทำงานซ้ำซ้อน และ 3) ไม่มีการกำหนดหน้าที่การทำงานของพนักงานที่ชัดเจน มาทำการปรับปรุงโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์วิธีการ การวิเคราะห์กระบวนการ และการคำนวณเวลามาตรฐาน ผลการศึกษาสรุปได้ว่าสามารถลดเวลานำในการทำงาน จากเดิม 95.2 วินาทีต่อกิโลกรัม เป็น 66.2 วินาทีต่อกิโลกรัม หรือคิดเป็นร้อยละ 30.5 และลดรอบเวลาในการทำงานจากเดิม 30.4 วินาทีต่อกิโลกรัม เป็น 17.6 วินาทีต่อกิโลกรัม หรือคิดเป็นร้อยละ 42.1 จากผลลัพธ์ที่ได้ทำให้เชื่อมั่นได้ว่ากระบวนการนี้มีประสิทธิภาพในการทำงานมากขึ้นen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการลดเวลานำในการทำงานen_US
dc.subjectรอบเวลาในการทำงานen_US
dc.subjectมาตรฐานการปฏิบัติงานen_US
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการบรรจุหีบห่อมะม่วงสดพันธุ์น้ำดอกไม้สีทอง กรณีศึกษา: บริษัทผู้ส่งออกผักและผลไม้สดen_US
dc.title.alternativeProductivity Improvement of Namdokmai Mango Packing Process A Case Study: an Exporter of Tropical Fruits and Vegetablesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.