Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorไพลิน เชิญทองen_US
dc.contributor.authorชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์en_US
dc.contributor.authorวันเพ็ญ ทรงคำen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:43:14Z-
dc.date.available2020-04-02T14:43:14Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 44, 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2560), 105-117en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/135616/101334en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67285-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractด้านอาชีวอนามัยที่สำคัญ การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถภาพการได้ยินและการใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียงรวมทั้งทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถภาพการได้ยินและการใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียงของแรงงานนอกระบบแกะสลักไม้ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน จำนวน 217 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องประเมินการได้ยินและแบบสัมภาษณ์ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเชื่อมั่น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างเพียงร้อยละ 8.30 ที่มีสมรรถภาพการได้ยินปกติ ขณะที่ร้อยละ 62.67และร้อยละ 29.03 มีสมรรถภาพการได้ยินผิดปกติและต้องเฝ้าระวัง กลุ่มตัวอย่างเพียงร้อยละ 5.53 มีการใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียงชนิดที่อุดหู ทั้งพบว่าการใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียงโดยรวม รวมทั้งการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียง การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันเสียง และการดูแลอุปกรณ์ป้องกันเสียง มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับสมรรถภาพการได้ยิน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .582-.585, p < .01 ) ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า พยาบาลอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมรวมทั้งทีมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ควรให้ความสำคัญกับการสื่อสารความเสี่ยงโดยเฉพาะเสียงดังจากสภาพแวดล้อมการทำงาน ทั้งส่งเสริมให้มีการใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียงอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความเสี่ยงต่อการสูญเสียการได้ยิน ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของแรงงานนอกระบบen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสมรรถภาพการได้ยินen_US
dc.subjectการใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียงen_US
dc.subjectแรงงานนอกระบบแกะสลักไม้en_US
dc.titleสมรรถภาพการได้ยินและการใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียง ของแรงงานนอกระบบแกะสลักไม้en_US
dc.title.alternativeHearing Capacity and Use of Hearing Protection Devices Among Wood Carving Informal Workersen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.