Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67129
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorดำรงศักดิ์ รินชุมภูen_US
dc.contributor.authorรุจิโรจน์ อนามบุตรen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:32:29Z-
dc.date.available2020-04-02T14:32:29Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 4, 2 (ม.ค.-มิ.ย. 2560), 85-101en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/111299/86967en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67129-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractการพัฒนาที่ดินที่เพิ่มมากขึ้นในปัจจุบันทำให้พื้นผิวพรุนน้ำตามธรรมชาติลดลง ส่งผลให้เกิดปัญหาน้ำท่วมขังหรือน้ำไหลนองในพื้นที่เขตเมืองบ่อยครั้งและทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น จึงทำให้เกิดข้อบังคับในผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 ที่ส่งเสริมให้เกิดการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมให้มีสวนซับน้ำฝนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการลดการไหลนอง (หรือเพิ่มการซึมได้ของน้ำ) ของพื้นที่โดยจะได้รับสิทธิ์ในการเพิ่มพื้นที่อาคารต่อพื้นที่ดินตามปริมาณการลดการไหลนองในโครงการ แต่การประเมินปริมาณน้ำไหลนองบนพื้นที่สวนซับน้ำฝนยังขาดวิธีประเมินที่เหมาะสม เบื้องต้นพบว่า การประมาณการน้ำไหลนองด้วยค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำฝนสะสมกับปริมาณน้ำหลากตามผิวดิน สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการประเมินปริมาณน้ำไหลนองบนพื้นที่สวนซับน้ำฝนได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้จึงได้ทดลองด้วยการประยุกต์ใช้วิธีการดังกล่าวกับรูปแบบของการออกแบบพื้นที่สวนรับน้ำฝนในรูปแบบต่างๆ และนำเสนอเป็นคู่มือสำหรับในการนำไปใช้ในงาน ภูมิสถาปัตยกรรมต่อไป Nowadays the dramatic urban land development affects to the reduction of natural porosity surfaces, thus increasing frequency and destructive urban flooding or stormwater runoff problems. Consequently, the Bangkok Comprehensive Plan 2013 has been mandated to promote the landscape design to increase rainwater garden to effectively reduce the stormwater runoff and increase the water infiltration, which will earn the floor area ratio bonus for the achieved developments. However, the appropriated method for assessment of stormwater runoff on rainwater garden area has been deficient. Meanwhile, the preliminary studies found that the Curve Number (CN) Method is applicable to use for assessing stormwater runoff capacity on rainwater garden area. This research processes the experiment in the application of CN method on several bio-retention area designs. Thereby, present a design guideline for landscape architecture practices.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectน้ำไหลนองen_US
dc.subjectสวนซับน้ำฝนen_US
dc.subjectการซึมน้ำen_US
dc.subjectค่าสัมประสิทธิ์en_US
dc.titleการกำหนดค่าการซึมได้ของน้ำฝนไหลนองบนสวนซับน้ำฝนสำหรับงานภูมิสถาปัตยกรรมen_US
dc.title.alternativeDetermination of stormwater runoff infiltration on rain water absorbing garden for landscape architectureen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.