Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67100
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศรันย์ ขำโท้en_US
dc.contributor.authorเบญจวรรณ ฤกษ์เกษมen_US
dc.contributor.authorศันสนีย์ จำจดen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T09:01:07Z-
dc.date.available2019-12-03T09:01:07Z-
dc.date.issued2553en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 26,4 (พ.ย. 2553), 1-7en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00112_C00795.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67100-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการผสมข้ามมีความสำคัญในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวลูกผสม แหล่งของลักษณะที่เอื้อต่อการผสมข้ามถูกพบในข้าวป่า (O. rufipogon Griff. ) การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกต้นที่มีลักษณะเอื้อต่อการผสมข้ามในประชากรผสมกลับ (BC3F1) ระหว่างข้าวป่ากับข้าวปลูกพันธุ์รับ (พันธุ์สุพรรณบุรี 1) โดยเก็บตัวอย่างดอกจากต้นที่มีลักษณะใกล้เคียงกับข้าวปลูกพันธุ์รับจำนวน 100 ต้นเพื่อวัดขนาดของเกสรเพศเมีย ขนาดอับละอองเรณู และความมีชีวิตของละอองเรณู ผลการศึกษาพบว่าการกระจายตัวของลักษณะความยาวอับละอองเรณู ยอดเกสรเพศเมีย และเกสรเพศเมีย มีค่าเฉลี่ยมากกว่าข้าวปลูกพันธุ์รับ (31-51%, 53-115% และ 32-68%, ตามลำดับ) ส่วนความกว้างอับละอองเรณู ความยาวก้านชูเกสรเพศเมีย และความมีชีวิตของละอองเรณูนั้นไม่แตกต่างไปจากข้าวปลูกพันธุ์รับ และพบว่าความยาวเกสรเพศเมียขึ้นอยู่กับความยาวยอดเกสรเพศเมียมากกว่าความยาวก้านชูเกสรเพศเมีย นอกจากนี้พบความสัมพันธ์ทางบวก (r = 0.50***) ระหว่างความยาวอับละอองเรณูกับยอดเกสรเพศเมียด้วย ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า วิธีการผสมกลับสามารถใช้ปรับปรุงลักษณะความยาวอับละอองเรณูและความยาวยอดเกสรเพศเมียได้ในประชากรที่ศึกษา และได้คัดเลือกต้นที่มีขนาดอับละอองเรณูและเกสรเพศเมียใหญ่เพื่อใช้ผสมกลับและคัดเลือกอีกครั้งในฤดูต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการผสมกลับen_US
dc.subjectการผสมข้ามen_US
dc.subjectขนาดอับละอองเรณูen_US
dc.subjectขนาดเกสรเพศเมียen_US
dc.subjectข้าวen_US
dc.titleการคัดเลือกลักษณะที่เอื้อต่อการผสมข้ามในลูกผสมกลับระหว่างข้าวป่าสามัญ (Oryza rufipogon Griff.) และข้าวปลูกพันธุ์สุพรรณบุรี 1 (Oryza sativa L. var. Suphunburi 1)en_US
dc.title.alternativeSelection Traits to Promote Outcrossing in Progenies of Backcross Between Common Wild Rice (Oryza rufipogon Griff.) and Cultivated Rice (Oryza sativa L.) var. Suphunburi 1en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.