Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66989
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธัญญารัตน์ สุขเกษมen_US
dc.contributor.authorกิตติมา พันธ์พฤกษาen_US
dc.contributor.authorนพมณี เชื้อวัชรินทร์en_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:55Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:55Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationศึกษาศาสตร์สาร 3, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 24-36en_US
dc.identifier.issn0859-8479en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmujedu/article/view/189471/148561en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66989-
dc.descriptionศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Journal of Education) เป็นวารสารวิชาการระดับชาติ ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดพิมพ์เพื่อเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่ผลงานวิจัย นวัตกรรม และองค์ความรู้ใหม่อันเป็นความก้าวหน้าทางวิชาการด้านศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์ในยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการเรียนรู้ของนักวิชาการ อาจารย์ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) ร่วมกับการใช้คำถามเชิงวิเคราะห์ โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 40 คน โรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) ร่วมกับการใช้คำถามเชิงวิเคราะห์ เรื่อง วิวัฒนาการ แบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีกรณีกลุ่มตัวอย่างไม่อิสระจากกัน และการทดสอบค่าทีกรณีกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว ผลวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียน ( 7.48, S.D. 2.53) สูงกว่าก่อนเรียน ( 3.70, S.D. 2.13) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียน ( 22.10, S.D. 1.67) สูงกว่าก่อนเรียน ( 9.25, S.D. 3.43) และหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอนen_US
dc.subjectการใช้คำถามเชิงวิเคราะห์en_US
dc.subjectการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์en_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) ร่วมกับการใช้คำถามเชิงวิเคราะห์ เรื่อง วิวัฒนาการ ที่มีต่อการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4en_US
dc.title.alternativeThe effects of 5 steps learning process(5 steps) and analytical questions in evolution on scientific analytical thinking and achievement of tenth grade studentsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.