Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66977
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปราโมทย์ บุญตันจีนen_US
dc.contributor.authorพิมพิมล แก้วมณีen_US
dc.contributor.authorกฤตวิทย์ อัจฉริยะพานิชกุลen_US
dc.contributor.authorกันตพร ช่วงชิดen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:55Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:55Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 23, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 27-48en_US
dc.identifier.issn0859-8479en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/182673/148256en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66977-
dc.descriptionวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการen_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลในการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำในระดับจังหวัดของประเทศไทยด้วยการประมาณค่าวิธีเอนโทรปีสูงสุดทั่วไปสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลพาแนล (Generalized Maximum Entropy Estimators for Panel Data Regression Models) โดยใช้ข้อมูลอัตราค่าจ้างขั้นต่ำและตัวชี้วัดเศรษฐกิจมหาภาคที่เกี่ยวข้องอื่นๆ รายจังหวัดจากทั้งจำนวน 76 จังหวัด ตั้งแต่ปี 2549 - 2558 จำนวน 10 ปี ได้แก่ ซึ่งประกอบด้วย อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ค่าใช้จ่ายตามคุณภาพ อัตราเงินเฟ้อ การชำระภาษีนิติบุคคลหรือภาษีการค้า ผลิตภาพแรงงาน อัตราการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และอัตราการว่างงาน ผลการศึกษาพบว่าค่าใช้จ่ายตามคุณภาพ และผลิตภาพแรงงานมีผลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำในทิศทางเดียวกัน ส่วนอัตราการว่างงาน อัตราเงินเฟ้อ การชำระภาษีนิติบุคคลหรือภาษีการค้าและอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มีผลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำในทิศทางตรงกันข้ามกัน ซึ่งจะนำไปสู่ข้อเสนอแนวทางการพิจารณากำหนดค่าจ้างขั้นต่ำต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectค่าจ้างขั้นต่ำen_US
dc.subjectวิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดen_US
dc.subjectข้อมูลพาแนลen_US
dc.subjectประเทศไทยen_US
dc.titleแบบจำลองค่าจ้างขั้นต่ำของประเทศไทย : ประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับข้อมูลพาแนลen_US
dc.title.alternativeModelling Minimum Wage in Thailand: Applications Generalized Maximum Entropy Estimators for Panel Data Regression Modelsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.