Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66945
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อภิรัฐ บัณฑิต | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-12-03T08:56:54Z | - |
dc.date.available | 2019-12-03T08:56:54Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารเกษตร 35, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 413-423 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-0841 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/215948/150721 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66945 | - |
dc.description | วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1 | en_US |
dc.description.abstract | วัชพืชเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการสูญเสียผลผลิตอ้อยในสภาพการแข่งขันระหว่างพืชปลูกและวัชพืช การใช้สารกำจัดวัชพืชเป็นวิธีการควบคุมวัชพืชที่พบมากที่สุดในแปลงปลูกอ้อย ดังนั้น การศึกษาในสภาพแปลงจึงทำเพื่อประเมินประสิทธิภาพการใช้สารกำจัดวัชพืชแบบก่อนงอก (สาร diclosulam, สาร diuron / hexazinone, สาร indaziflam, สาร imazapic + pendimethalin และสาร sulfentrazone) ในแปลงปลูกอ้อยแบบแถวเดี่ยวและแถวคู่ ผลการทดลองพบว่า การใช้สาร diuron / hexazinone อัตรา 210.6 + 59.4 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่, สาร indaziflam อัตรา 8 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่, สาร imazapic + pendimethalin อัตรา 12 + 148.5 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ และสาร sulfentrazone อัตรา 76.8 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ ควบคุมวัชพืชโดยรวมได้ระดับเดียวกัน และไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชปลูกภายใต้วิธีการปลูกต่างกัน ยกเว้นการใช้สาร diclosulam อัตรา 8.4 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ มีระดับการควบคุมวัชพืชโดยรวมต่ำสุดเมื่อเทียบกับการใช้สารกำจัดวัชพืชชนิดอื่น อย่างไรก็ตาม การใช้สาร diuron / hexazinone และสาร indaziflam ควบคุมวัชพืชได้หลายชนิดมากที่สุด การใช้สาร indaziflam ควบคุมวัชพืชได้หลายชนิดโดยใช้สารอัตราที่ต่ำกว่าการใช้สาร diuron / hexazinone ดังนั้น สาร indaziflam จึงสามารถใช้เป็นสารทางเลือกชนิดใหม่ในแปลงปลูกอ้อยได้ | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | สารกำจัดวัชพืชแบบก่อนงอก | en_US |
dc.subject | อ้อย | en_US |
dc.subject | การควบคุมวัชพืช | en_US |
dc.title | การประเมินประสิทธิภาพสารกำจัดวัชพืชแบบก่อนงอกสำหรับการควบคุมวัชพืชในแปลงปลูกอ้อย | en_US |
dc.title.alternative | Evaluation of Preemergence Herbicide Efficacy for Weed Control in Sugarcane Field | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.