Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66893
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนาพร บุญมีen_US
dc.contributor.authorสัญชัย จตุรสิทธาen_US
dc.contributor.authorเสาวลักษณ์ แย้มหมื่นอาจen_US
dc.contributor.authorจิรวัฒน์ พัสระen_US
dc.contributor.authorมิชาเอล ครอยเซอร์en_US
dc.contributor.authorมิชาเอล วิคเคen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T06:32:23Z-
dc.date.available2019-12-03T06:32:23Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 27, 2 (มิ.ย. 2554),113-120en_US
dc.identifier.issn0857-0847en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00113_C00821.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66893-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการทดลองขุนอาหารเป็นเวลา 80 วัน แก่โคนมเพศเมียคัดทิ้งเพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพซาก ได้แบ่งแม่โคเป็น 4 กลุ่ม (กลุ่มละ 8 ตัว แยกขังคอกละ 1 ตัว) ได้แก่ กลุ่มที่ฆ่าทันทีหลังจากปลดระวาง (T0) กลุ่มที่ได้รับข้าวโพดหมักเต็มที่ (T1) กลุ่มที่ได้รับกากมันสำปะหลัง 6 กิโลกรัมร่วมกับข้าวโพดหมักเต็มที่ (T2) และ กลุ่มที่ได้รับรำหยาบ 6 กิโลกรัมร่วมกับข้าวโพดหมักเต็มที่ (T3) พบว่าปริมาณการกินได้เฉลี่ยต่อวันและอัตราการแลกน้ำหนักของแม่โค นมทดลองมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P = 0.001 และ P = 0.087) โดยกลุ่มที่ให้ข้าวโพดหมักเพียงอย่างเดียวมีปริมาณการกินได้น้อยที่สุด (10.64 เทียบกับ 11.21 และ 12.11 kg DM/d) ตามลำดับ และมีอัตราการแลกน้ำหนักด้อยที่สุด (27.79 เทียบกับ 21.65 และ 25.67) ตามลำดับ และยังมีแนวโน้มของอัตราการเจริญเติบโตต่ำที่สุดด้วย (0.38 เทียบกับ 0.51 และ 0.47 กก./ตัว/วัน) ตามลำดับ แต่ไม่พบความแตกต่างทางสถิติ เช่นเดียวกับในด้านของคุณภาพซากคือ ค่าเปอร์เซ็นต์ซาก ความยาวซาก ปริมาณเนื้อแดง ปริมาณไขมันในซาก ปริมาณกระดูก พื้นที่หน้าตัดเนื้อสัน และ เปอร์เซ็นต์ไขมันหุ้มไต แต่กล้ามเนื้อของโคกลุ่มที่ได้รับกากมันสัมปะหลังมีปริมาณไขมันแทรกมากกว่ากล้ามเนื้อจากโคกลุ่มอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P = 0.006)en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโคนมเพศเมียคัดทิ้งen_US
dc.subjectอาหารโคขุนen_US
dc.subjectสมรรถภาพการผลิตen_US
dc.subjectลักษณะของซากen_US
dc.subjectกากมันสัมปะหลังen_US
dc.subjectรำหยาบen_US
dc.titleผลของอาหารที่ใช้ขุนต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพซากของแม่โคนมคัดทิ้งen_US
dc.title.alternativeEffect of Finishing Diets on Growth Performance and Carcass Characteristics of Culled Dairy Cowsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.