Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66794
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเสฎฐวุฒิ จันธิมา "en_US
dc.contributor.authorชนม์เจริญ แสวงรัตน์en_US
dc.contributor.authorธีรวรรณ บุญญวรรณen_US
dc.contributor.authorสายสมร ลำยองen_US
dc.contributor.authorจตุรงค์ คำหล้าen_US
dc.contributor.authorนครินทร์ สุวรรณราชen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:04Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:04Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 179-189en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/16.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66794-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาพารามิเตอร์ที่เหมาะสมต่อปริมาณอนุมูลอิสระไฮดรอกซิล(OH• )และการยับยั้งการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ด้วยเทคนิคน้ำกระตุ้นด้วยพลาสมา (Plasma Activated Water)แบบ Pinhole plasma jet โดยประยุกต์ใช้วิธีการพื้นผิวตอบสนอง (Response Surface) ด้วยการออกแบบการทดลองแบบบ็อกซ์-เบห์นเคน (BoxBehnken design) เพื่อกำหนดเงื่อนไขของการทดลองโดยมีตัวแปรต้นที่ศึกษาคือระยะเวลาดิสชาร์จอตัราการจ่ายก๊าซ อาร์กอน และอัตราผสมก๊าซออกซิเจน และมีตัวแปรตาม คือ ปริมาณอนุมูลอิสระไฮดรอกซิล และปริมาณการลดลงของเชื้อจุลินทรีย์ผลการทดลองพบว่า พารามิเตอร์ที่เหมาะสมที่สุด คือการใช้ระยะเวลาดิสชาร์จ 20 นาทีอตัราการจ่ายก๊าซ อาร์กอน 5 ลิตร/นาทีและอัตราผสมก๊าซออกซิเจน 2% ของก๊าซอาร์กอน ซึ่งสามารถทำให้เกิดปริมาณอนุมูลอิสระ ไฮดรอกซิลได้ 10-30 ppm และสามารถลดปริมาณเชื้อแบคทีเรีย E. coli ได้ 0.62-0.98 Log CFU/ml หรือประมาณ 70-80% นอกจากนี้ได้ทำการศึกษาการใช้น้ำกระตุ้นด้วยพลาสมาล้างผลพริกขี้หนูซึ่งเป็นพืชตัวอย่างในศึกษาผลการทดลอง พบว่า ที่ระยะเวลาการแช่ 5, 10 และ 15 นาทีสามารถลดปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ทั้งหมดของผลพริกขี้หนูได้ 0.69, 0.72 และ 0.82 Log CFU/g หรือประมาณ 70-80%en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพารามิเตอร์en_US
dc.subjectพลาสมาen_US
dc.subjectแบคทีเรีย E. Colien_US
dc.subjectบ็อกซ์-เบห์นเคนen_US
dc.titleพารามิเตอร์ที่เหมาะสมของการสร้างน้ำกระตุ้นด้วยพลาสมาในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย E. coli ด้วยเทคนิคการออกแบบการทดลองแบบบ็อกซ์-เบห์นเคนen_US
dc.title.alternativeAppropriate Parameters of Plasma Activated Water for Growth Inhibition of E. coli by Box-Behnken design)en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.