Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66787
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเบญญา สุนทรานนท์ "en_US
dc.contributor.authorสมรวี อร่ามกุลen_US
dc.contributor.authorภาสกร แช่มประเสริฐen_US
dc.contributor.authorชูโชค อายุพงศ์en_US
dc.contributor.authorมานพ แก้วโมราเจริญen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:04Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:04Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 107-120en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/10.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66787-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractในเขตพื้นที่ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยมีการบริหารจัดการน้ำ ด้วยองค์กรเหมืองฝาย โดยมีแก่ฝาย ซึ่งได้รับเลือกจากกลุ่มผู้ใช้น้ำ เป็นผู้ควบคุมฝายแก่ฝายเป็นผู้ดูแลระดับการเปิดหรือปิดประตูน้ำ เพื่อจัดสรรน้ำ เข้าสู่พื้นที่การเกษตร แก่ฝายปรับระดับประตูน้ำ เหมืองฝายตามการคาดการณ์ระดับน้ำ และกฎเกณฑ์ดั้งเดิมของแก่ฝาย แต่ด้วยการที่สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ลักษณะทางน้ำ ต่างจากที่ผ่านมาอย่างชัดเจน ประสบการณ์ของแก่ฝายอาจจะไม่เพียงพอในการปรับระดับประตูเหมืองฝายอย่างถูกต้องดั้งนั้นงานวิจัยนี้จึงได้นำเสนอการพัฒนาระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจสำหรับปรับระดับ ประตูน้ำของเหมืองฝายโดยมีพื้นที่ศึกษาที่อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย งานวิจัยนี้เริ่มจากการสำรวจระบบเหมืองฝาย เพื่อวิเคราะห์ปริมาณน้ำในแม่น้ำ ที่จะใช้ในการบริหารจัดการน้ำในปัจจุบันจากนั้นจึงได้พัฒนา ระบบสนับสนุนการตัดสินใจการบริหารจัดการน้ำ โดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่นำเสนอนี้ ประกอบด้วย 1) สถานีโทรมาตรวัดระดับน้ำ 2)แบบจำลองทางชลศาสตร์เพื่อคำนวณปริมาณน้ำที่ออกจากเหมืองฝายและ 3) เว็บไซต์สำหรับการแสดงผลระดับประตูน้ำที่เหมาะสม ภายหลังจากการติดตั้งระบบสนับสนุนการตัดสินใจ พบว่าระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้งานได้จริง ข้อมูลสถานการณ์น้ำถูกแสดงผลไดอ้ย่างถูกต้อง และระดับประตูเหมืองฝายที่ระบบ แนะนำสามารถลดความคลาดเคลื่อนของปริมาณน้ำในการบริการจดัการน้ำเพื่อการเกษตรได้en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectระบบสนับสนุนการตัดสินใจen_US
dc.subjectประตูน้ำen_US
dc.subjectเหมืองฝายen_US
dc.titleการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับการปรับระดับประตูน้ำของเหมืองฝาย กรณีศึกษา อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a Decision Support System for Weir Sluice Gate Level Adjustment Case Study: Mae Chan, Chiang Raien_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.