Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66772
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณัฐดนัย ลิขิตตระการ"en_US
dc.contributor.authorจักรพงษ์ สุภาวรรณ์en_US
dc.contributor.authorวงค์พันธ์ พรหมวงศ์en_US
dc.contributor.authorฉัตรสุดา เผือกใจแผ้วen_US
dc.contributor.authorธีราภรณ์ คำปลิวen_US
dc.contributor.authorพิสิษฐ์ พูลประเสริฐen_US
dc.contributor.authorปิยะวรรณ สุทธิประพันธ์en_US
dc.contributor.authorวรุฒ ศิริวุฒิen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 35, 2 (พ.ค. 2562), 283-294en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/189597/133342en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66772-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractในรอบสิบปีที่ผ่านมักพบการระบาดของกิ้งกือบางชนิดอยู่เป็นประจำ ส่งผลกระทบต่อประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ การใช้สารเคมีเพื่อการควบคุมถือเป็นทางเลือกหนึ่งที่ช่วยบรรเทาความรุนแรงนี้ลงได้ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของคาร์บาริล ฟิโปรนิล และไซเพอร์เมทริน ต่อกิ้งกือตะเข็บสามสี Antheromorpha uncinata Jeekel, 1968 ในตำบลสันกลาง อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ตัวอย่างกิ้งกือตะเข็บสามสีถูกนำมาทดสอบผลของสารเคมีกำจัดแมลงในห้องปฏิบัติการ ด้วยวิธีการพ่นลงบนตัวกิ้งกือโดยตรง และตรวจวัดอัตราการตายเมื่อเวลาผ่านไป 1, 12, 24 และ 48 ชั่วโมง ตามลำดับ พบว่า ภายในเวลา 1 และ 24 ชั่วโมง ฟิโปรนิลมีประสิทธิภาพในการกำจัดสูงสุด โดยมีค่า LC50 ที่ 97.69 และ 23.81 ppm ตามลำดับ รองลงมาคือ ไซเพอร์เมทริน ที่มีค่า LC50 ที่ 115.39 และ 93.48 ppm ส่วนคาร์บาริลนั้นมีประสิทธิภาพต่ำสุด โดยมีค่า LC50 ที่ 514.97 และ 501.59 ppm แต่หากพิจารณาถึงประสิทธิภาพของการใช้สารเคมีทั้ง 3 ชนิด ที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนำ จะพบว่าคาร์บาริลความเข้มข้นตามอัตราแนะนำ (850 ppm) มีประสิทธิภาพสูงสุดในการควบคุมกิ้งกือตะเข็บสามสีได้ถึง 100 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้เวลาเพียง 1 ชั่วโมง ในขณะที่ฟิโปรนิลความเข้มข้นตามอัตราแนะนำ (125 ppm) ทำให้กิ้งกือตะเข็บสามสีตาย 100 เปอร์เซ็นต์ หลังการพ่น 12 ชั่วโมง ซึ่งในช่วงเวลาเดียวกันนี้ ไซเพอร์เมทรินความเข้มข้นตามอัตราแนะนำ (175 ppm) มีอัตราการตายของกิ้งกือเพียง 83.33 เปอร์เซ็นต์ แม้ว่าระยะแรกกิ้งกือตะเข็บสามสีจะมีอาการสลบไปเกือบทั้งหมด แต่กลับฟื้นตัวมาได้ภายหลัง ดังนั้นคาร์บาริลและฟิโปรนิลที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนำ จึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการป้องกันและกำจัดกิ้งกือชนิดนี้ในพื้นที่ต่าง ๆ ต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกิ้งกือตะเข็บสามสีen_US
dc.subjectการรวมกลุ่มen_US
dc.subjectประสิทธิภาพของสารเคมีกำจัดแมลงen_US
dc.subjectเชียงรายen_US
dc.subjectประเทศไทยen_US
dc.titleประสิทธิภาพของคาร์บาริล ฟิโปรนิล และไซเพอร์เมทรินต่อกิ้งกือตะเข็บสามสี Antheromorpha uncinataJeekelen_US
dc.title.alternativeEfficacy of Carbaryl, Fipronil and Cypermethrin Against Flat-back Millipede, Antheromorpha uncinata Jeekelen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.