Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66530
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorผานิตตา ไสยรสen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:30Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:30Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 30, 1 (ม.ค.-มิ.ย 2561), 103-135en_US
dc.identifier.issn2672-9563en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/163995/118810en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66530-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 มีบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ที่ทำงานร่วมกันทั้งที่มาจากคณาจารย์ในคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอาจารย์นักวิชาการภายนอก จากมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านสังคมศาสตร์ของประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือเพื่อเผยแพร่บทความวิชาการ หรืองานวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านมานุษยวิทยา การศึกษาการพัฒนาทางด้านภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา และสตรีศึกษา ที่มีคุณภาพสู่สังคมวงกว้าง ต่อมาในปี 2561 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เริ่มจัดทำวารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online)en_US
dc.description.abstractการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศจีน ส่งผลให้การซื้อขายสินค้าและการชำระเงินออนไลน์ถูกผนวกเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของชาวจีนอย่างแพร่หลาย จากการศึกษาปรากฏการณ์รูปแบบการชำระเงินออนไลน์ของระบบอาลีเพย์ (Alipay) พบว่าการใช้กระเป๋าเงินดิจิทัลแทนเงินสดได้กลายเป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมแลกเปลี่ยนซื้อขายในชีวิตประจำวันของคนจีนในเขตพื้นที่เมืองโดยมีสาเหตุมาจาก 1) กระเป๋าเงินดิจิทัลอาลีเพย์มีบริการที่หลากหลาย ซึ่งตอบสนองวิถีการใช้ชีวิตของคนในเมืองใหญ่ 2) อาลีเพย์ใช้กลยุทธ์ระบบนิเวศทางธุรกิจสร้างเครือข่ายร้านค้าที่หลากหลาย โดยใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของลูกค้าเพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค และสอดแทรกบริการที่สอดคล้องกับความต้องการในชีวิตประจำวันของผู้ใช้ทั้งในประเทศและข้ามพรมแดน และ3) การขยายตัวของเมือง การเพิ่มขึ้นของชนชั้นกลางจากการพัฒนาเศรษฐกิจบริการที่สอดรับกับพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของกลุ่มวัยหนุ่มสาวที่คุ้นชินกับเทคโนโลยีดิจิทัล รวมทั้งการสนับสนุนทางนโยบายจากภาครัฐอย่างจริงจัง ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งเสริมความแพร่หลายของการใช้กระเป๋าเงินดิจิทัลในจีน รวมทั้งเอื้อต่อการเติบโตไปสู่สังคมไร้เงินสดเต็มรูปแบบen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกระเป๋าเงินดิจิทัลen_US
dc.subjectการเงินออนไลน์en_US
dc.subjectสังคมไร้เงินสดen_US
dc.titleกระเป๋าเงินดิจิทัลอาลีเพย์:พัฒนาการของเทคโนโลยีการเงินออนไลน์และการเปลี่ยนแปลงผ่านสู่สังคมไร้เงินสดในประเทศจีนen_US
dc.title.alternativeAlipay Digital Wallet: China’s Fintech Development and the Transition towards a Cashless Societyen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.