Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66522
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอิทธิพงษ์ ทองศรีเกตุen_US
dc.contributor.authorดุษฎี อายุวัฒน์en_US
dc.contributor.authorเสาวลักษณ์ ชายทวีปen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 29, 2 (ก.ค.-ธ.ค 2560), 103-134en_US
dc.identifier.issn2672-9563en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/165272/126211en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66522-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 มีบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ที่ทำงานร่วมกันทั้งที่มาจากคณาจารย์ในคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอาจารย์นักวิชาการภายนอก จากมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านสังคมศาสตร์ของประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือเพื่อเผยแพร่บทความวิชาการ หรืองานวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านมานุษยวิทยา การศึกษาการพัฒนาทางด้านภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา และสตรีศึกษา ที่มีคุณภาพสู่สังคมวงกว้าง ต่อมาในปี 2561 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เริ่มจัดทำวารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online)en_US
dc.description.abstractในศตวรรษที่ 21 เกือบทุกประเทศทั่วโลกกำลังเผชิญกับการกลายเป็นสังคม ผู้สูงอายุและการขยายตัวของความเป็นเมือง บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การเปลี่ยนแปลงชีวิตของผู้สูงอายุที่ยายถิ่นจากชนบทเขาสู่เมือง การศึกษานี้ได้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยา โดยมีเขตเมืองแห่งหนึ่ง ในจังหวัดขอนแก่นเป็นพื้นที่ในการศึกษาทําการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้สูงอายุที่ได้ย้ายถิ่นเขามาอยู่อาศัยในเขตเมืองไม่น้อยกวา 6 เดือน จำนวน 16 ราย ตั้งแต่เดือนม.ค. 2560 ถึงเดือนสิงหาคม 2560 และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า การย้ายถิ่น จากชนบทเข้าสู่เมืองเป็นได้ทั้งโอกาสและความท้าทายในการดําเนินชีวิตของ ผู้สูงอายุได้แก่ 1) ความใกล้ชิดและความสุขที่อยู่กับลูกหลาน 2) ความรู้สึกมั่นใจว่าไม่ ได้ถูกทอดทิ้งในช่วงปลายของชีวิต 3) การเข้าถึงการบริการทางสุขภาพที่ดี และ โอกาสทางเศรษฐกิจ และ 4) การเรียนรู้ของผู้สูงอายุย้ายถิ่นที่จะจัดวาง ความสัมพันธ์ให้เขากับสมาชิกในเขตเมือง อย่างไรก็ตามการย้ายถิ่นจากชนบทเข้าสู่เมืองของผู้สูงอายุยอมทําให้เกิดการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุนอกจากนี้อาจจะต้องพิจารณาว่าการย้ายถิ่นสามารถสร้างความสุขความเป็นอยู่ที่ดีและช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่ดูแลจัดการตนเองได้en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectผู้สูงอายุย้ายถิ่นen_US
dc.subjectการย้ายถิ่นฐานจากชนชทสู่เมืองen_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงชีวิตen_US
dc.titleการย้ายถิ่นในกลุ่มผู้สูงอายุ : การเปลี่ยนแปลงชีวิตจากชนบทเข้าสู่เมืองen_US
dc.title.alternativeElderly Migration: The Change of Life from Rural to Urbanen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.