Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66511
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนณัฎฐ์ ลังกาดีen_US
dc.contributor.authorอรรถกร อาสนคำen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 23, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559), 130-141en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/23_3/12Thananat.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66511-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้จะศึกษาสมรรถนะของโมดูลเซลล์แสงอาทิตยที่ ์ ติดตั้งบนหลังคาโดยในการศึกษาจะใช้โมดูลเซลล์ แสงอาทิตย์ชนิดโพลีคริสตัลไลน์ขนาด 0.99 เมตร x 1.96 เมตรสามารถผลิตกำลังไฟฟ้าสูงสุดที่ 250 วัตต์ตามมาตรฐาน การทดสอบสากลแต่ในสภาวะการทำงานจริงกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้มีค่าลดลงเมื่ออุณหภูมิของโมดูลสูงขึ้นการศึกษาครั้งนี้จะ พิจารณาในกรณีที่มีและไม่มีการเป่าระบายความร้อนที่บริเวณด้านหลังของโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคาจากการ ทดสอบพบว่าการเป่าอากาศระบายความร้อนใต้โมดูลเซลล์แสงอาทิตย์สามารถลดอุณหภูมิโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ได้สูงสุด 10๐ C และผลิตไฟฟ้าได้เพิ่มขึ้นจาก 187.9 วัตต์เป็น 220.95 วัตต์หรือเพิ่มขึ้น 17.59 เปอร์เซ็นต์ที่ความเข้มแสงอาทิตย์ ประมาณ 1,000 วัตต์ต่อตารางเมตร งานวิจัยนี้ยังได้พัฒนาโมเดลเพื่อนำไปใช้ประเมินปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้ตลอดทั้งปีของโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ ภายใต้สภาพอากาศของจังหวัดเชียงใหม่ในกรณีที่โมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ไม่มีการระบายความร้อนปริมาณไฟฟ้าที่ลิตได้มีค่า 229.41 kWh/y ต่อ 1 โมดูลเซลล์แสงอาทิตย์และในกรณีที่โมดูลเซลล์แสงอาทิตย์มีการระบายความร้อนโดยกรณีใช้งาน พัดลมระบายอากาศตลอดในช่วงเวลา 09.00-16.00น. มีค่าเท่ากับ 243.32kWh/y ต่อ 1โมดูลเซลล์แสงอาทิตย์และกรณี เปิดพดัลมเมื่อความเข้มรังสีแสงอาทิตย์มีค่ามากกวา่ 950 W/m2 มีค่าเท่ากับ 234.64kWh/y ต่อ1 โมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ แสดงให้เห็นว่าประสิทธิภาพของโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ที่มีการระบายความร้อนจะสามารถผลิตไฟฟ้าได้ดีกว่าโมดูลแบบปกติen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคาen_US
dc.subjectอุณหภูมิโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์en_US
dc.subjectการระบายความร้อนด้วยอากาศen_US
dc.subjectประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าen_US
dc.titleการประเมินสมรรถนะโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา ในกรณีที่มีและไม่มีการระบายความร้อนด้วยอากาศen_US
dc.title.alternativePerformance Assessment of Rooftop Solar Cell Module with and without Air Coolingen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.