Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66501
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศen_US
dc.contributor.authorจงกล พรมยะen_US
dc.contributor.authorจตุรภัทร วาฤทธิ์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2560), 142-151en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_1/13.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66501-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractในวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจยัของแสงส่องสว่างจากหลอดแอลอีดีที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลินาในสภาวะที่เพาะเลี้ยงด้วยระบบโรงเรือนปิด อีกทั้งยังศึกษาทางด้านการวเิคราะห์ข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นโดยมีการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเติบโตของสาหร่ายสไปรูลินาเป็น 2 การทดลองการทดลองแรกเป็นการศึกษาชนิด และระยะเวลาในการให้แสงส่องสว่างจากหลอดแอลอีดีที่มีผลต่อการเพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลินาการทดลองที่สองเป็น การศึกษาปัจจัยของความเข้มแสงที่มีผลต่อการเพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลินาและหาแบบจำลองการทำนายอัตราการเติบโต ของสาหร่ายสไปรูลินาจากการศึกษาพบว่าการเพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลินาในระบบโรงเรือนปิดที่มีการควบคุมจะมีอัตรา อัตราการเติบโตดีกว่าการเพาะเลี้ยงระบบธรรมชาติโดยผลของชนิดสีของหลอดแอลอีดีเป็นแบบผสมสีแดงและน้ำเงินใน อัตราส่วน 3 ต่อ 1 ระยะเวลาในการให้แสง 16 ชั่วโมงต่อวัน และค่าความเข้มของฟลักซ์เท่ากับ 350 µmol/m2 s จากการ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นของการพัฒนาระบบฟาร์มสาหร่ายอัจฉริยะโดยใช้แสงจากหลอดแอลอีดีในระบบเซลล์แสงอาทิตย์พบว่ามีจุดคุ้มทุนเท่ากับ 2.03 ปีen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสาหร่ายสไปรูลินาen_US
dc.subjectแสงส่องสว่างจากหลอดแอลอีดีen_US
dc.subjectแบบจำลองการทำนายอัตราการเติบโตen_US
dc.titleแบบจำลองการทำนายอัตราการเติบโตของสาหร่ายสไปรูลินา โดยผลของแสงส่องสว่างจากหลอดแอลอีดีและการประยุกต์en_US
dc.title.alternativeModeling of Spirulina Growth Rate with LED Illumination and Applicationsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.