Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66499
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุรินทร์ คันใจen_US
dc.contributor.authorสุลักษณา มงคลen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2560), 166-179en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_1/15.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66499-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพการลดความชื้นในระบบทำความเย็นแบบระเหยในบ้านพักอาศัยด้วยฮีทไปป์ทดสอบในห้องกว้าง 3 m ยาว 3 m สูง 2.5 m ทำความเย็นโดยใช้แผ่นระเหยน้ำพื้นที่หน้าตัด 0.122 m2 ร่วมกับพัดลมดูดอากาศขนาด 65 W และปั๊มน้ำขนาด 35 W ร่วมกับชุดลดความชื้นทำจากฮีทไปป์ที่ใช้ R22 เป็นสารทำงานมีค่า การถ่ายเทความร้อน 1,208.09 W/m2 เงื่อนไขการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 กรณี ได้แก่ ติดตั้งฮีทไปป์หน้าแผ่นระเหยน้ำติดตั้งฮีทไปป์หลังแผ่นระเหยน้ำและติดตั้งฮีทไปป์หน้าและหลังแผ่นระเหยน้ำจากการศึกษาพบว่าทั้ง 3 กรณีไม่สามารถลดความชื้นของอากาศได้แม้ว่า สารทำงานในฮีทไปป์จะเกิดการเดือดแต่อุณหภูมิน้ำ ที่ไดจ้ากระบบทำความเย็นแบบระเหยมา ระบายในส่วนควบแน่นยังมีอุณหภูมิสูงกว่า อุณหภูมิจุดน้ำค้างของอากาศก่อนผ่านฮีทไปป์จึงทำให้สารทำงานไปดึงความ ร้อนจากส่วนระเหยได้ไม่เพียงพออย่างไรก็ตามกรณีที่ติดตั้งฮีทไปป์หน้าและหลังแผ่นระเหยน้ำ ร่วมกันสามารถลดอุณหภูมิ และเพิ่มความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศที่ออกจากระบบได้มากกว่ากรณีอื่นๆ และทำให้ค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะมีค่าสูงสุด เท่ากับ 3.21 Wth/We ในการปรับอากาศภายในห้องให้อยู่ในช่วงสภาวะความสบายของมนุษย์แต่มีบางช่วงเวลาที่ยังคงมีค่าสูงเกินมาตรฐานen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectระบบทำความเย็นแบบระเหยen_US
dc.subjectฮีทไปป์en_US
dc.subjectการลดความชื้นen_US
dc.subjectบ้านพักอาศัยen_US
dc.titleศักยภาพการลดความชื้นในระบบทำความเย็นแบบระเหยเพื่อใช้ในบ้านพักอาศัยด้วยฮีทไปป์en_US
dc.title.alternativeDehumidification Potentiality of Evaporative Cooling System for Residential Home by Heat Pipeen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.