Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66437
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพิณญาณัฐ วิริยะรัตน์en_US
dc.contributor.authorวรพจน์ เสรีรัฐen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 53-65en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/05Phinyanut.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66437-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้จัดทำ ขึ้นเพื่อสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในการหาค่าที่ดีที่สุดของการจัดตารางการใช้ห้องเรียน ในอาคาร 30 ปีคณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดปริมาณการใช้ไฟฟ้า และค่าไฟฟ้า ซึ่งถูกเรียกเก็บแบบอัตราตามช่วงเวลาของการใช้(Time of Use Rate: TOU) ซึ่งค่าไฟฟ้าเฉลี่ยต่อหน่วยในแต่ละ ช่วงเวลามีค่าไม่ เท่ากัน โดยปัจจัยที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย 1)ความหนาแน่นของความต้องการใช้ไฟฟ้าในแต่ละช่วงเวลา 2)การเลือกขนาดห้องเรียนให้เหมาะสมกับจำนวนนักศึกษาที่ลงเรียนในตอนเรียนนั้น ๆ และ 3)ผลกระทบด้านอุณหภูมิของ ห้องเรียนที่เกิดขึ้นจากแสงแดดที่ส่งผลต่อการใช้กำ ลังไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศซึ่งคิดเฉลี่ยเป็นร้อยละ 40 ของภาระทาง ไฟฟ้าภายในห้องเรียน โดยคำตอบที่ได้ในงานวิจัยนี้คือคำตอบที่ดีที่สุดของการจัดตารางการใช้ห้องเรียนเพื่อให้มีปริมาณ การใช้ไฟฟ้าและค่าไฟฟ้ามีค่าต่ำสุด ภายใต้ปัจจยัและข้อจำกัดที่เกี่ยวข้องกับการจัดตารางการใช้ห้องเรียน จากการสรุป ผลงานวิจยัพบว่าปัจจยัที่ส่งผลให้ค่าไฟฟ้าลดลงมากที่สุด คือการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของความต้องการใช้ไฟฟ้าในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งค่าไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากปัจจัยดังกล่าวจะอยู่ในรูปของค่าความต้องการใช้พลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak Load)โดยค่าใช้จายดังกล่าวลดลงร้อยละ 16.60 ส่วนปัจจัยด้านการเลือกขนาดห้องเรียนให้เหมาะสมและการหลีกเลี่ยงการ ใช้งานห้องเรียนที่ได้รับผลกระทบด้านอุณหภูมิที่เกิดขึ้นจากแสงแดดนั้น สามารถลดค่าใช้จ่ายในส่วนของหน่วยการใช้ ไฟฟ้าได้ร้อยละ 3.21 ซึ่งจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยทั้งหมดที่ได้กล่าวในข้างต้น ส่งผลให้ค่าไฟฟ้ารวมมีค่าลดลงร้อยละ 5.74 คิดเป็นค่าไฟฟ้าที่ลดลงในชึ้น 2 และ 3 ของอาคาร 30 ปีจำนวน 3,954.97 บาทต่อเดือนen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการหาค่าที่ดีที่สุดen_US
dc.subjectการจัดตารางการใช้ห้องเรียนen_US
dc.subjectลดค่าไฟฟ้าลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าen_US
dc.titleการหาคำตอบที่ดีที่สุดของการจัดตารางการใช้ห้องเรียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานen_US
dc.title.alternativeOptimization of Classroom Scheduling for Energy Conservationen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.