Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66402
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกิตติ ขติยะสุนทรen_US
dc.contributor.authorนพดล กรประเสริฐen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 26, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 121-134en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/08.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66402-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพการให้บริการของระบบจำหน่ายตั๋วโดยสารภายในสถานีรถไฟฟ้า มหานครจุดให้บริการจำหน่ายตั๋ว โดยสารภายในสถานีรถไฟฟ้านับ เป็นจุดที่เกิดการติดขัด หรือจุดคอขวดในการเดินทาง สัญจรภายในสถานีรถไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วยรูปแบบการให้บริการด้วยช่องทางจำหน่ายตั๋วโดยสารอัตโนมัติและช่องทาง จำหน่ายตั๋ว โดยพนักงาน งานวิจัยนี้ทำการประเมินระบบการให้บริการภายในสถานีสุขุมวิทซึ่งเป็นสถานีรถไฟฟ้าที่มี ผู้โดยสารใช้บริการมากที่สุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาเร่งด่วนสร้างปัญหาการจราจรคนเดินที่ติดขัด จุดให้บริการจำหน่ายตั๋วโดยสารภายในสถานีรถไฟฟ้าจึงได้รับการปรับปรุงรูปแบบการให้บริการช่องทางจำหน่ายตั๋ว จากรูปแบบการ ให้บริการแบบหลายช่องบริการและหลายแถวคอย มาเป็นรูปแบบการให้บริการแบบหลายช่องบริการขนาน (หรือหลายช่อง บริการหนึ่งแถวคอย) งานวิจัยนี้ได้พัฒนาแบบจำลองการจราจรคนเดินระดับจุลภาคเพื่อจำลองสถานการณ์ของรูปแบบการ ให้บริการจำหน่ายตั๋วโดยสารและวิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการให้บริการรูปแบบการให้บริการก่อนและหลังการ ปรับปรุงผลการศึกษาพบว่า การเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการแบบหลายช่องบริการขนาน สามารถช่วยจัดสรรพื้นที่ที่จำกัด ได้เกิดประสิทธิภาพมีความหนาแน่นขึ้นร้อยละ 28 และสามารถลดระยะเวลาการรอคอยได้เมื่อจำนวนผู้โดยสารมีจำนวนสูง ประมาณ 2,000 คนต่อชั่วโมงแต่หากจำนวนผู้โดยสารมีจำนวนไม่สูงระยะเวลาการรอคอยและความยาวแถวคอยจะใกล้เคียงกับรูปแบบแถวคอยก่อนการปรับปรุงen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินประสิทธิภาพการให้บริการจำหน่ายตั๋วโดยสารรถไฟฟ้ามหานครโดยใช้แบบจำลองการจราจรคนเดินen_US
dc.title.alternativeEvaluation of Mass Rapid Transit Ticket Service Efficiency Using Pedestrian Traffic Simulationen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.