Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66360
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอัศวิณีย์ หวานจริงen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจิตรศิลป์ 9, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 190-237en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/100516/118019en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66360-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractการสร้างสรรค์ศิลปกรรมกระจกบทผนังวิหารวัดท่าข้าม (ชัยชนะ) อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมมรดกชุมชนท้องถิ่น เริ่มจากการที่ชุมชนต้องการจะบูรณะวิหารให้สวยงามด้วยงานศิลปะ การสร้างงานครั้งนี้จึงเปรียบเสมือนเป็นการบันทึกภาพประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่นด้วยภาพศิลปกรรมกระจก โดยใช้เทคนิคการประดับกระจกสี ตัดเป็นตัวภาพแบบอุดมคติ เช่นเดียวกับภาพจิตรกรรมไทยประเพณี มีการคิดค้นพัฒนาเทคนิค วิธีการตัด และติดกระจกรูปแบบใหม่ จนเกิดเป็นงานที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ เหมาะสมกับการทำงานศิลปะในปัจจุบัน รวมทั้งได้มีการจัดอบรมชุมชน ให้เรียนรู้ขั้นตอนกระบวนการสร้างสรรค์งาน เพื่อช่วยพัฒนาความรู้ความสามารด้านศิลปะ และเปิดโอกาสให้ชุมชนได้มีส่วนร่วม เกิดการเรียนรู้ สามารถช่วยกันดูแลรักษาผลงานศิลปกรรมกระจกได้ต่อไป การทำงานร่วมกับชุมชนในครั้งนี้ทำให้ผู้วิจัยได้มีโอกาสเรียนรู้และสามารถนำมาพัฒนาตนเองในการสร้างสรรค์งานศิลปะได้มากขึ้น การสร้างสรรค์งานจึงไม่ใช่เพียงแค่การสร้างชิ้นงานศิลปะ แต่เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ผลงานศิลปกรรมกระจกชุดที่ช่วยสร้างคุณค่าทางสุนทรียะให้กับชุมชนต่อไปในอนาคตen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectศิลปกรรมกระจกen_US
dc.subjectกระจกเกรียบen_US
dc.subjectชุมชนท้องถิ่นen_US
dc.titleศิลปกรรมกระจกสะท้อนวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่นบนผนังวิหารวัดท่าข้าม (ชัยชนะ) อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGlass Mosaic Mural on the South Wall of the Vihara of Wat Ta Kam Reflecting Local Community Culture.en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.