Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66258
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนวพร วุฒิธรรมen_US
dc.contributor.authorพิมพ์นิภา ศรีนพคุณen_US
dc.contributor.authorชุติมา สีนวลen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 46, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2562), 70-82en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197110/137121en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66258-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มสูงขึ้น เป็นสาเหตุของการเกิดความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจะทำให้สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มโรคความดันโลหิตสูงโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ผู้ร่วมวิจัยได้มาด้วยการสุ่มแบบเจาะจงและการบอกต่อ ประกอบด้วยกลุ่มโรคความดันโลหิตสูงและสมาชิกครอบครัว จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ชุดคำถามปลายเปิดแบบมีโครงสร้าง แบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกต ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและวิธีวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ผู้ร่วมวิจัยได้ผ่านกระบวนคิดวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบ การสร้างวิสัยทัศน์ คือ ลดเกลือ-ลดโรค แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประกอบด้วย แผนจัดเมนูชูสุขภาพ แผนสร้างกิจกรรมทางกาย แผนผ่อนคลาย และแผนการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง ได้ดำเนินการตามแผน ปรับแผน และประเมินผลรูปแบบการมีส่วนร่วมได้แก่ เพื่อนความดัน ลดเค็ม-ลดเกลือโซเดียม ขยับกายหายจากโรค เมนูชูสุขภาพ พลังครอบครัว เรียนรู้เพื่อสุขภาพ และสุขภาพดีวิถีพุทธตามบริบทและวิถีชีวิตของแต่ละครอบครัว ส่งผลให้ผู้ป่วยกลุ่มโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ปกติและใกล้เคียงปกติ ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถใช้เป็นแนวทางในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงแบบมีส่วนร่วม โดยวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยการเรียนรู้ร่วมกันให้เหมาะสมในแต่ละชุมชนen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectผู้ป่วยความดันโลหิตสูงen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมของครอบครัวen_US
dc.subjectการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จากการมีส่วนร่วมของครอบครัว: กรณีศึกษาโรงพยาบาลดำเนินสะดวกในจังหวัดราชบุรีen_US
dc.title.alternativeThe Development of Pattern of Behavioral Health Modification among Hypertension Group by Family Participation : Damnoen Saduak Hospital in Ratchburi Provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.