Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66248
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจุฑาทิพย์ ตาสุสีen_US
dc.contributor.authorยุวยงค์ จันทรวิจิตรen_US
dc.contributor.authorธิดารัตน์ คำบุญen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 46, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2562), 13-23en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197075/137034en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66248-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกในจังหวัดกำแพงเพชร กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกที่อาศัยอยู่ในจังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 97 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประกอบด้วย 5 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก แบบสอบถามความเครียด การเผชิญความเครียด การสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิต Function Assessment of Cancer Therapy Cervical Cancer version Thai (FACT – CX )แบบสอบถามด้านความเครียด การเผชิญความเครียด การสนับสนุนทางสังคมผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ค่าความเชื่อมั่น โดยหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคของความเครียด การเผชิญความเครียด การสนับสนุนทางสังคม ได้ค่าเท่ากับ0.71 , 0.70, และ 0.73ตามลำดับ และด้านคุณภาพชีวิต ค่าเท่ากับ0.80วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่าคุณภาพชีวิตของกลุ่มตัวอย่างในจังหวัดกำแพงเพชร อยู่ในระดับสูง ( =3.39,SD.= 0.23, คะแนนสูงสุด 4)พบว่าความเครียดมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำกับคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.214 ,p< .05) และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .374, p< .01)ส่วนการเผชิญความเครียดไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต ดังนั้นควรส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคมเพื่อให้ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกมีคุณภาพชีวิตที่ดีen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความเครียดen_US
dc.subjectการเผชิญความเครียดการสนับสนุนทางสังคมมะเร็งปากมดลูกen_US
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกในจังหวัดกำแพงเพชรen_US
dc.title.alternativeFactors Related to Quality of Life Among Patients With Cervical Cancer in Kamphaengphet Provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.