Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66183
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเพ็ญนภา ตาจิตต์en_US
dc.contributor.authorทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์en_US
dc.contributor.authorจินดารัตน์ ชัยอาจen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:23Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:23Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 45, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2561), 28-39en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/145040/107192en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66183-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractอาการหายใจลำบาก และอาการอ่อนล้าเกิดขึ้นได้บ่อยในผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว และส่งผลต่อความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ การวิจัยแบบพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ และความสัมพันธ์ของอาการหายใจลำบาก อาการอ่อนล้าและความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะหัวใจล้มเหลวจำนวน 285 ราย ที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลลำพูน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด ทำการรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2557 ถึงเดือนมีนาคม 2558 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินอาการหายใจลำบาก แบบประเมินความเหนื่อยล้าของไปเปอร์ และแบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ ผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวไม่มีความยากลำบากในเรื่องความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่โดยรวม ( = 2. 69, S. D. = 0. 54) อาการหายใจลำบากและอาการอ่อนล้ามีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางกับความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -. 41, p< . 01; r = -. 58, p < . 01, ตามลำดับ) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการพยาบาลสำหรับผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว เพื่อที่จะได้ให้การพยาบาลที่เหมาะสมต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอาการหายใจลำบากen_US
dc.subjectอาการอ่อนล้าen_US
dc.subjectความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่en_US
dc.subjectผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวen_US
dc.titleอาการหายใจลำบาก อาการอ่อนล้า และความสามารถ ในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวen_US
dc.title.alternativeDyspnea, Fatigue and Functional Performance Among Persons with Heart Failureen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.