Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65176
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorKittika Kanjanaratanakornen_US
dc.contributor.authorKittipat Charoenkwanen_US
dc.contributor.authorRochana Phuackchantucken_US
dc.contributor.authorPimonphan Nitisuwanraksaen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:44Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:44Z-
dc.date.issued2014en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/87552/69131en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65176-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractการศึกษาคุณภาพบทความวิจัยคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ ที่ปรากฏในระบบข้อมูลมาตรฐานที่ตีพิมพ์ในช่วงปี พ.ศ. 2553-2555 ในมิติของค่า Impact factor นั้น พบว่า ค่า Impact factor ของวารสารส่วนใหญ่จะมีค่าอยู่ในช่วงระหว่าง 0-3 ผลงานของภาควิชาปรีคลินิก ที่มีผล งานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่มีค่า Impact factor สูงมากกว่า 3 ขึ้นไป เป็นส่วนใหญ่ คือ ภาควิชาจุลชีววิทยา และสรีรวิทยา คือ ร้อยละ 41.7 และ 35.2 ของจํานวนผลงานในภาควิชา ส่วนภาควิชาทางคลินิก ที่มีผลงาน วิจัยที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารที่มี ค่า Impact Factor สูงมากกว่า 3 ขึ้นไปเป็นส่วนใหญ่ คือ ภาควิชาอายุรศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์ และเวชศาสตร์ชุมชน คือ ร้อยละ 44.1,30.5 และ 31.6 ของจํานวนผลงานในภาควิชาและ เมื่อพิจารณาผลงานของทั้ง 21 ภาควิชา โดยดูจากผลงานวิจัยที่มีค่า Impact factor สูงสุดของแต่ละภาควิชา พบว่า เกิดจากความร่วมมือในการทําวิจัยกับต่างสถาบันในระดับนานาชาติเป็นส่วนใหญ่ คณะแพทยศาสตร์ได้มีค่าใช้จ่ายต้นทุนสําหรับการผลิตงานวิจัย 1 เรื่อง อยู่ระหว่างประมาณ 104,000242,000 บาท และมีค่าใช้จ่ายต่อหนึ่งหน่วย ของค่า Impact factor อยู่ระหว่าง 41,400-74,000 บาท ดังนั้น หากจะผลักดันให้การทํางานวิจัยมีผลงานเพิ่มมากขึ้น ทั้งในด้านจํานวนผลงานวิจัยและค่า Impact factor ของวารสารที่ตีพิมพ์มีค่าสูง ๆ นั้น แนวทางหนึ่งที่คณะแพทยศาสตร์ควรพิจารณาคือ นอกเหนือจากที่คณะ แพทยศาสตร์ดําเนินการสนับสนุนแล้ว คณะแพทยศาสตร์ควรให้ความสําคัญกับนโยบายเชิงพัฒนาเพื่อให้เกิด การทําวิจัยร่วมกับสถาบันต่างประเทศซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญให้คําปรึกษา ที่มีประสบการณ์ หรือมีความเชี่ยวชาญใน สาขาวิชานั้น ๆ เป็น Mentor เพื่อผลักดันให้นักวิจัยได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์และนํา มาซึ่งการได้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่มี ค่า Impact factor สูงและยังเป็นการเผยแพร่ซึ่งชื่อเสียงของ คณะแพทยศาสตร์ได้แบบยั่งยืนด้วยen_US
dc.languageEngen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAssessment of departmental research activities and overall productivity by using the impact factor of scientifi c publicationsen_US
dc.title.alternativeงบประมาณด้านการวิจัยกับคุณภาพผลงานวิจัยของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่ตีพิมพ์ ในวารสารระดับนานาชาติในมิติของค่า Impact Factoren_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume53en_US
article.stream.affiliationsResearch Administration Section, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Obstetrics and Gynecology, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsResearch Administration Section, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsResearch Administration Section, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.