Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64903
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วาสนา วงศ์สุรวัฒน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:31Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:31Z | - |
dc.date.issued | 2554 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/Free%20Love.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64903 | - |
dc.description | วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้วิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบประวัติชีวิต ประสบการณ์และ มุมมองเกี่ยวกับ “ความรักเสรี” (free love) ของนักเขียนหญิงที่มีชื่อเสียง บทบาท และอิทธิพลสูงสุดในวงวรรณกรรมจีนสมัยใหม่ 2 ทาาน คือ ติงหลิง (จาง ปิ่งจื้อ) และไอลีน ชาง (จาง อ้ายหลิง) แม้จะดูเหมือนว่านักเขียนทั้งสอง มีจุดยืนอยู่คนละฟากฝั่งมโนทัศในยุคสงครามเย็นและผลงานสำคัญๆ ของทั้งสองจะได้รับการตีพิมพ์ในระยะเวลาที่ห่างกันถึงกว่าทศวรรษ แต่ประวัติ ชีวิต ประสบการณ์และมุมมองที่มีต่อ “ความรักเสรี” ซึ่งนําเสนอผ่านผลงาน วรรณกรรมของท่านทั้งสองนั้นกลับคล้ายคลึงและเห็นพ้องต้องกันเป็นอย่างยิ่ง ทั้งสองท่านมอง “ความรักเสรี” เป็นหนทางสู่อัตนิยาม (Self-identifi cation) และการปลดแอกทางสังคม อย่างไรก็ดีนักเขียนทั้งสองท่านก็ถูกกระแส การต่อสู้ทางมโนทัศน์อันเชี่ยวกรากของยุคสมัยนั้น (ติงหลิง เข้าไปมีส่วนร่วม ในการปฏิวัติคอมมิวนิสต์จีน ในขณะที่ ไอลีน ชาง ต้องไปทํางานให้รัฐบาล สหรัฐอเมริกาในยุคสงครามเย็น) บีบบังคับให้ต้องละทิ้งแนวทางแห่ง “ความรักเสรี” ซึ่งเป็นโครงเรื่องหลักในผลงานชิ้นเอกของทั้งสองท่านในยุคแรกๆ “ความรักเสรี” ถูกประเมินว่ามีความสําคัญน้อยกว่าการปฏิวัติของฝ่ายคอมมิวนิสต์ ในประเทศจีนและไม่ยิ่งใหญ่เท่ากับการต่อรู้เพื่อธํารงรักษาไว้ซึ่งเสรีภาพของ สหรัฐอเมริกาในยุคสงครามเย็น บัดนี้ เมื่อสงครามเย็นได้กลายเป็นอดีต ไปแล้วและยุคสมัยแห่งโลกาภิวัตน์น่าจะมีบรรยากาศที่เปิดกว้างให้เราได้ศึกษาผลงานชิ้นเอกของนักเขียนทั้งสองท่านนี้ ตามแนวทางแห่ง “ความรักเสรี” ซึ่งเป็นโครงเรื่องหลักสำคัญโดยแท้จริงแทนที่จะถูกจำกัดไว้ในกรอบมโนทัศน์ทางการเมืองที่คับแคบดังเช่นที่เคยเป็นมาในยุคสงครามเย็น | en_US |
dc.language | Eng | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ | en_US |
dc.title | รักเสรี : การเมืองเพศภาวะของโรมานซ์ในการปฏิวัติจีน | en_US |
dc.title.alternative | Free Love : Gender Politics of Romance in the Chinese Revolution | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารสังคมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 23 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.