Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64691
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอำนาจ ตงติ๊บen_US
dc.contributor.authorประสงค์ อิงสุวรรณen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:20Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:20Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/18_1/3Amnad.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64691-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของความเร็วการหมุนของระบบโรเตอร์เกร็งส่วนยื่นต่อค่าไอเก้นและการตอบสนองเชิงความถี่ เพื่อวิเคราะห์ผลเชิงทฤษฎี ผลการทดสอบจริงและเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นโดยใช้อัตราส่วนจากระนาบแบริ่งที่สองถึงจุดศูนย์กลางมวลกับระยะปลายส่วนยื่นเป็น V = 0.6 ไม่คิดผลของความหน่วงหนืดแต่พิจารณาผลของความหน่วงจากไจโรสโคปิก การศึกษาเชิงทฤษฎีจากหลักการของนิวตันและรูปแบบตัวแปรเชิงซ้อนสามารถหาค่าไอเก้นและไอเก้นเวกเตอร์ซึ่งแสดงรูปร่างโหมตในแบบต่างๆ นอกจากนั้นยังสามารถแสดงกราฟการตอบสนองซึ่งเกี่ยวข้องกับทิศทางผลเชิงทฤษฎีที่ได้มีความสอดคล้องและมีแนวโมไปในทิศทางเดียวกับผลทดสอบจริงจึงสามารถใช้ผลเชิงทฤษฎีมาทำนายค่าไอเก้นและขนาดของการตอบสนองได้โดยมีเปอร์เซ็นความเบี่ยงเบนเฉลี่ยลูงสุดของระบบ v = 0.6 คือ 6.59 เปอร์เซ็นต์ โดยเกิดที่ค่าไอเก้นที่สอง และคำนวณหาขนาดของมวลที่ไม่สมดุลได้ 3.06×10 -2 กรัม ⋅มิลลิเมตรen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการวิเคราะห์กาสั่นสะเทือนของโรเตอร์เกร็งส่วนยื่นโดยตัวแปรเชิงซ้อนen_US
dc.title.alternativeVibration Analysis of Overhung Rigid Rotor by Complex Variablesen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume18en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.