Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64630
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพุทสายัน นราพินิจen_US
dc.contributor.authorอิสรา ธีระวัฒน์สกุลen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:17Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:17Z-
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/1%BE%D8%B7%CA%D2%C2%D1%B9.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64630-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตของโรงงานผลิต ตู้วงจรไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้วิธีการจัดลําดับงานและตารางการผลิต และการบริหารวัสดุคงคลังด้วย ระบบการจัดแบ่งสินค้าแบบ ABC เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต สําหรับวิธีการจัดตารางการผลิตนั้นจะใช้ วิธีการจัดตารางแบบฮิวริสติกส์โดยใช้กฎเกณฑ์ Shortest Processing Time, Longest Processing Time, Earliest Due Date, Least Slack และ First Come First Served ผลการทดลองวางแผนและจัดตาราง การผลิตกับใบคําสั่งซื้อช่วงเดือนมิถุนายน ถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2549 ปรากฏว่าสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตได้ดียิ่งขึ้น โดยพบว่ากฎเกณฑ์ที่เหมาะสมคือ Earliest Due Date สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตคิดเป็น ร้อยละ 57.73 มูลค่าการสูญเสียโอกาสและค่าใช้จ่ายจากการส่งงาน ไม่ทันลดลงเท่ากับ 288,650 บาทต่อปี โดยที่ กฎเกณฑ์ Shortest Processing Time สามารถทําให้ค่าเวลางานที่อยู่ในระบบโดยเฉลี่ยดีที่สุด กฎเกณฑ์ Earliest Due Date และ Least Slack สามารถทําให้ค่าเวลางานล่าช้าเฉลี่ยดีที่สุด และจํานวนงานล่าช้าดีที่สุด และผลการจัดกลุ่มวัสดุคงคลังด้วยเทคนิค ABC พบว่าวัสดุ กลุ่ม A ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 73 ของมูลค่าจํานวนเงิน ของคงคลัง กลุ่ม B ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 21 ของมูลค่าจํานวนเงินของคงคลัง และกลุ่ม C ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 6 ของ มูลค่าจํานวนเงินของคงคลัง โดยกําหนดให้วัสดุกลุ่ม A จะตรวจสอบจํานวนทุกเดือน วัสดุกลุ่ม B จะตรวจสอบ จํานวนทุก 2 เดือน และวัสดุกลุ่ม C จะตรวจสอบจํานวนทุก 3 เดือน จากการจัดระบบวัสดุคงคลังด้วยเทคนิค ดังกล่าวสามารถลดค่าแรงพนักงานได้เท่ากับ 60,000 บาทต่อปีen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตตู้วงจรไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคนิคการบริหารวัสดุคงคลังและการ จัดลําดับการผลิตen_US
dc.title.alternativeProductivity Improvement of Electric and Electronics Cabinet Production by Inventory Management and Production Sequencing Techniquesen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume15en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.