Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64588
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorPham Dang Nhat Thaien_US
dc.contributor.authorองุ่นทิพย์ ศรีสุวรรณen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:14Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:14Z-
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/68359/55666en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64588-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractเมืองเหว้ได้รับการขนานนามว่าเป็นศูนย์กลางศาสนาพุทธในประเทศเวียดนาม ซึ่งปรากฏหลักฐาน จากวัดที่มีมากกว่า 100 วัด อย่างไรก็ตาม วัดในเหว้ในปัจจุบันขนาดคุณลักษณะของวัดประเพณีนิยมของ เหว้ เนื่องจากการบูรณะซ่อมแซมและการสร้างใหม่ การศึกษาในครั้งนี้มุ่งเน้นในการศึกษาคุณลักษณะทางสถาปัตยกรรมโดยใช้องค์ประกอบและภูมิ ทัศน์ของวัดในเมืองเหว้ ที่มีรูปผังจัดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส (khau) โดยการศึกษาสำรวจจากกรณีศึกษาของวัด ประเพณีนิยมจำนวน 10 วัด ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองเหว้ ผลการศึกษาพบว่า วัดรูปแบบผังสี่เหลี่ยม จัตุรัสก่อรูปขึ้นจากอาคาร 4 หลัง ซึ่งอาคารดังกล่าวล้อมรอบกันทำให้เกิดลานโล่งรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส อาคาร ทั้งสี่ ได้แก่ ศาลเจ้า กุฏิพระสงฆ์ บ้านพักฆราวาส และวิหาร โดยศาลเจ้าเป็นอาคารที่มีความสำคัญที่สุด ในวัด โดยคุณลักษณะของศาลเจ้า (main shrine) สร้างในรูปแบบของอาคาร 2 หลังบนฐานเดียวกัน (two houses on one foundation) และหลังคามี 2 ระนาบซ้อนชั้นกัน ที่มุมของหลังคาพบสัญลักษณ์ ของปูนปั้นตกแต่งเป็นรูปสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ 4 ชนิดซึ่งเป็นไปตามแนวคิดของฮวงจุ้ย นอกจากนี้อาคารทั้งหมดภายในวัดมีการจัดวางอย่างสมมาตร โดยมีแนวแกนหลักจากทางเข้าไปจนถึงอาคารศาลเจ้า ในผังโดยรวม ของวัด ยังมีอาคารกุฏิของสามเณร (house of novice) หอฉัน ครัว และหอสุสาน (tomb tower) ที่ ถูกจัดวางในละแวกเดียวกัน คุณลักษณะทั้งหมดเหล่านี้ของวัดประเพณีนิยมของเหว้จำเป็นที่จะต้องทำความ เข้าใจ ศึกษาให้ทันสมัย และสืบทอดต่อไปยังคนรุ่นต่อไป เพื่อคงลักษณะลำดับของวัดรูปผังสี่เหลี่ยมจัตุรัส แบบดั้งเดิมen_US
dc.languageEngen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.titleคุณลักษณะของวักประเพณีนิยมในจังหวัดเถื่อเทียนเหว้ ประเทศเวียดนาม : กรณีศึกษาวัดผังรูปสี่เหรี่ยมจรัสen_US
dc.title.alternativeCharacteristics of traditional Hue Temples in ThuaThien Hue Province, Vietnam: A Case Study of A Square Plan (Khau口)en_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.volume2en_US
article.stream.affiliationsFaculty of Architecture, Hue University of Science, Vietnamen_US
article.stream.affiliationsFaculty of Architecture, ChiangMai Universityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.