Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64456
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorโสภารักษ์ เขมราชen_US
dc.contributor.authorศุภมิตร เมฆฉายen_US
dc.contributor.authorเสาวลักษณ์ แย้มหมื่นอาจen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:08Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:08Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00129_C00968.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64456-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อผลิต recombinant Saccharomyce cerevisiae ที่มีชิ้นส่วนของยีนที่ถูกคัดแยกมาจาก Saccharomyce kluyveri และประเมินปริมาณกรดไขมันโอเมก้า-3 จาก recombinant S. cerevisiae รวมทั้งประเมินค่าการย่อยสลายในกระเพาะหมักของอาหารหยาบที่ได้รับการเสริม recombinant S. cerevisiae DNA ที่สกัดจาก S. kluyveri นำไปทำปฏิกิริยา PCR amplification โดยใช้ fatty acid desaturase 2 primer (FAD2) ผลผลิต PCR นำไปโคลนโดย pTA2 พลาสมิดเวกเตอร์ แล้วนำเข้าไปยัง S. cerevisiae หลังจากนั้น วิเคราะห์กรดไขมันโดยใช้ Gas chromatography และหาค่าการย่อยสลายในกระเพาะหมักโดยวิธี in vitro gas production technique มีการจัดกลุ่มทดลองด้วยวิธี 3x3 factorial ในแผนการทดลองแบบสุ่มโดยตลอด (CRD) ประกอบด้วย 2 ปัจจัย ปัจจัยที่ 1 คือ ชนิดของอาหารหยาบ ประกอบด้วย หญ้าเนเปียร์หมัก หญ้ากินนีหมัก และ ฟางข้าว ปัจจัยที่ 2 คือ การเสริมยีสต์ ประกอบด้วย กลุ่มควบคุม (C), กลุ่มที่เสริม S. cerevisiae (SC) และกลุ่มที่เสริม recombinant S. cerevisiae ที่มียีน FAD2 จาก S. kluyveri (SCSK) ประกอบด้วย 9 กลุ่มทดลอง ทำการเก็บน้ำจากกระเพาะรูเมนจากโคพืน้ เมืองจำนวน 4 ตัว ทำการวัดปริมาณแก๊ซที่ 2, 4, 6, 8, 10, 12, 24, 48, 72 และ 96 ชั่วโมง และวัดปริมาณจุลินทรีย์ (microbial biomass yield, MBY) หลังจากการหมักย่อยที่ 24 ชั่วโมง จากการวิเคราะห์กรดไขมัน พบว่า กรดไขมัน Linoleic acid (C18:2, LA), Alphalinolenic acid (C18:3, ALA) และ Eicosapentaenoic acid (C20:5, EPA) ของ recombinant S. cerevisiae มีปริมาณมากกว่า S. cerevisiae อย่างมีนัยสำคัญ สำหรับปริมาณแก๊สสุทธิที่เกิดขึน้ ในชั่วโมงที่ 2-12 ของหญ้าเนเปียร์หมักมีค่าสูงที่สุด ปริมาณแก๊สสุทธิที่ 24 ของอาหารหยาบที่เสริมด้วย recombinant S. cerevisiae จะมีปริมาณแก๊สสุทธิสูงที่สุดสรุปได้ว่า recombinant S. cerevisiae สามารถผลิต LA, ALA และ EPA ได้มากกว่า S. cerevisiae อาหารหยาบที่เสริมด้วย recombinant S. cerevisiae จะมีปริมาณ OMD และ SCFA สูงที่สุดen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleการผลิตกรดไขมันโอเมก้า-3 และการย่อยสลายในกระเพาะหมักของ Recombinant Saccharomyces cerevisiae ที่มียีน Fatty Acid Desaturase 2 (FAD2)en_US
dc.title.alternativeOmega-3 Fatty Acids Production and Ruminal Degradability of Recombinant Saccharomyces cerevisiae Harboring Fatty Acid Desaturase 2 Gene (FAD2)en_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume31en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.