Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64346
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพิพัฒน์พงษ์ ต๊ะทองคำen_US
dc.contributor.authorไสว บูรณพานิชพันธุ์en_US
dc.contributor.authorปิยะวรรณ สุทธิประพันธ์en_US
dc.contributor.authorเยาวลักษณ์ จันทร์บางen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:03Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:03Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00118_C00878.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64346-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractการสำรวจตั๊กแตนใบไม้ Phyllium westwoodii Wood-Mason ในเขตพื้นที่อำเภอแม่ทา และอำเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลำพูน พบว่าถิ่นอาศัยของตั๊กแตนใบไม้เป็นสภาพป่าเต็งรัง มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางอยู่ในช่วง 500-600 เมตร มีไม้วงศ์ยางเป็นไม้เด่นกระจายอยู่ทั่วไป พืชอาหารของตั๊กแตนใบไม้จากการสำรวจ มีทั้งหมด 8 วงศ์ จำนวน 12 ชนิด ได้แก่ 1) วงศ์ Anacardiaceae คือ มะม่วง Mangifera indica L. และรักใหญ่ Gluta usitata (Wall.) Ding Hou 2) วงศ์ Burseraceae คือ มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum Guill. 3) วงศ์ Dipterocarpaceae คือ เต็ง Shorea obtusa Wall. รัง Shorea siamensis Miq. ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. และยางเหียง Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. 4) วงศ์ Fagaceae คือ ก่อแป้น Castanopsis diversifolia (Kurz) King 5) วงศ์ Irvingiaceae คือ กระบก Irvingia malayana Oliv. ex A. Benn. 6) วงศ์ Meliaceae คือ กัดลิ้น Walsura trichostemon Miq. 7) วงศ์ Papilionoideae คือ ประดู่ป่า Pterocarpus macrocarpus Kurz และ 8) วงศ์ Sapindaceae คือ ลำไย Dimocarpus longan Lour. สำหรับชีววิทยาของตั๊กแตนใบไม้ P. westwoodii ที่ได้ทำการศึกษาในห้องปฏิบัติการ พบว่า ตั๊กแตนใบไม้มีวงจรชีวิตที่ยาวนาน ตลอดระยะเวลาของการเจริญเติบโต มีพฤติกรรมที่น่าสนใจหลายอย่าง เช่น การพรางตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม การผสมพันธุ์ การวางไข่ เป็นต้น ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการอนุรักษ์ตั๊กแตนใบไม้ในธรรมชาติen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleการสำรวจถิ่นอาศัยและชีววิทยาของตั๊กแตนใบไม้ Phyllium westwoodii Wood-Mason (Phasmatodea: Phylliidae)en_US
dc.title.alternativeHabitat Survey and Biology of Leaf Insect, Phyllium westwoodii Wood-Mason (Phasmatodea: Phylliidae)en_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume29en_US
article.stream.affiliationsภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.