Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64266
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธานี แก้วธรรมานุกูลen_US
dc.contributor.authorสมใจ ศิระกมลen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:01:59Z-
dc.date.available2019-05-07T10:01:59Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn0125-0081en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/93405/73164en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64266-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการสร้างเสริมสุขภาพเป็นหนึ่งในสมรรถนะและบทบาทสำคัญของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างสุขภาวะของประชาชน ดังนั้นพยาบาลวิชาชีพจึงต้องมีสมรรถนะดังกล่าว การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะในการสร้างเสริมสุขภาพและการปฏิบัติบทบาทในการสร้างเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวาของพยาบาลวิชาชีพผู้ให้บริการระดับปฐมภูมิในสถานบริการสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคเหนือ จำนวน 938 ราย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพและวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือได้ค่าเท่ากับ .95 - .98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา หาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับสมรรถนะด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลในการสร้างเสริมสุขภาพ (ร้อยละ 45.0-63.5) และด้านปฏิบัติกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ (ร้อยละ 48.5-60.3) อยู่ในระดับชำนาญ และมีสมรรถนะด้านบริหารจัดการในการสร้างเสริมสุขภาพ (ร้อยละ 32.7-56.5) ด้านการพัฒนาภาคีเครือข่ายการสร้างเสริมสุขภาพ (ร้อยละ 44.2-54.5) และด้านการวิจัยและการจัดการความรู้ (ร้อยละ 63.5-76.7) อยู่ในระดับพื้นฐาน ส่วนการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวา กลุ่มตัวอย่างปฏิบัติในลักษณะรายปีด้วยสัดส่วนมากที่สุด (ร้อยละ 26.2-46.7) รองลงมาคือ ไม่ได้ปฏิบัติ (ร้อยละ 15.9-44.7) หรือปฏิบัติในลักษณะรายเดือน (ร้อยละ 10.6-31.7) ทั้งในด้านการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ด้านการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน ด้านการพัฒนาทักษะส่วนบุคคล และด้านการปรับระบบบริการสุขภาพ ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า ควรมีการเสริมสร้างสมรรถนะด้านบริหารจัดการในการสร้างเสริมสุขภาพ ด้านการพัฒนาภาคีเครือข่ายการสร้างเสริมสุขภาพ และด้านการวิจัยและการจัดการความรู้ให้กับพยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการระดับปฐมภูมิ รวมทั้งการส่งเสริมการปฏิบัติบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleสมรรถนะและการปฏิบัติบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาล ในการให้บริการระดับปฐมภูมิ เขตภาคเหนือen_US
dc.title.alternativeHealth Promotion Competency and Practice Among Nurses in Primary Care Service, the North Regionen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleพยาบาลสารen_US
article.volume43en_US
article.stream.affiliationsคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.