Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64261
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorโสภา คำาชัยลึกen_US
dc.contributor.authorเพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุลen_US
dc.contributor.authorทรียาพรรณ สุภามณีen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T09:59:55Z-
dc.date.available2019-05-07T09:59:55Z-
dc.date.issued2016en_US
dc.identifier.issn0125-0081en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/77541/62196en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64261-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractบันทึกทางการพยาบาลเป็นหลักฐานสำคัญที่แสดงว่าพยาบาลได้ให้การพยาบาลอย่างมีคุณภาพต่อผู้ป่วย ดังนั้นจึงต้องมีการตรวจบันทึกของพยาบาลอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่าผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง การศึกษาเชิงพัฒนานี้มีจุดมุ ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพการตรวจบันทึก ทางการพยาบาลในโรงพยาบาล ตติยภูมิวิธีการดำเนินการศึกษาอาศัยกระบวนการปรับปรุงคุณภาพ พีดีซีเอซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ การวางแผน การปฏิบัติการตรวจสอบและการดำเนินการปรับปรุง ตัวอย่างในการวิจัยนี้คือพยาบาลที่รับผิด ชอบงานตรวจบันทึกทางการพยาบาลประจำ หอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลนครพิงค์จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการดำเนินการศึกษาได้แก่แบบประเมินบันทึกทางการพยาบาลของโรงพยาบาลนครพิงค์และแนวคำถาม เกี่ยวกับอุปสรรคในการตรวจบันทึกทางการพยาบาล ผลการศึกษาพบว่าการใช้วงจรพีดีซีเอในกระบวนการปรับปรุงการตรวจบันทึกทำให้ผู้ตรวจสอบสามารถ ระบุสาเหตุที่ทำให้การตรวจบันทึกทางการพยาบาลไม่ตรงกันและเลือกวิธีการที่เหมาะสมสำหรับการแก้ไข ปัญหาผู้วิจัยได้พัฒนาคู่มือการตรวจบันทึกทางการพยาบาลและนำไปฝึกอบรมผู้ตรวจสอบในการใช้คู่มือนี้หลัง จากอบรมสองสัปดาห์ผู้วิจัยได้มีการตรวจสอบการให้คะแนนคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลของผู้ตรวจ สอบและพบว่ามีความสอดคล้องตรงกันเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 81.9 เป็นร้อยละ 100 ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่ากระบวนการปรับปรุงคุณภาพตามแนวคิดพีดีซีเอ สามารถนำมาใช้ ปรับปรุงคุณภาพการตรวจบันทึกทางการพยาบาลได้เป็นอย่างดีและพบอุปสรรคหลายประการที่มีผลต่อการ ตรวจบันทึกทางการพยาบาลที่ผู้บริหารการพยาบาลควรหาแนวทางในการแก้ไขต่อไปen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาคุณภาพการตรวจบันทึกทางการพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิen_US
dc.title.alternativeQuality Improvement of Nursing Document Audit in a Tertiary Hospitalen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleพยาบาลสารen_US
article.volume43en_US
article.stream.affiliationsโรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.