Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64248
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลาวัลย์ ทาวิทะen_US
dc.contributor.authorพิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่นen_US
dc.contributor.authorมาลี เอื้ออำานวยen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T09:59:54Z-
dc.date.available2019-05-07T09:59:54Z-
dc.date.issued2016en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/77509/62170en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64248-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนดของผู้ดูแลหลักที่บ้านอย่างเหมาะสมจะช่วยลดปัญหาทาง พัฒนาการของทารก การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาเพื่อศึกษาพฤติกรรมการส่งเสริมพัฒนาการ ทารกเกิดก่อนกำหนดของผู้ดูแลหลักและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงคือผู้ดูแล หลักของทารกเกิดก่อนกำหนด ที่มีอายุปรับแล้วตั้งแต่ 4-6 เดือน ที่นำทารกมารับบริการที่คลินิกเด็กดีหรือ คลินิกเด็กเสี่ยงสูงของโรงพยาบาลตติยภูมิ3 แห่ง ใน 3 จังหวัดภาคเหนือรวม85 ราย เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือน เมษายน-กันยายน พ.ศ. 2556 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามพฤติกรรมการส่งเสริม พัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนดของผู้ดูแลหลัก การรับรู้ประโยชน์ของการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อน กำหนด การรับรู้อุปสรรคของการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนด และการสนับสนุนของครอบครัว ในการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนดของผู้ดูแลหลักวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ความสัมพันธ์โดยสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติสหสัมพันธ์สเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่าผู้ดูแลหลักร้อยละ75.3มีคะแนนการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนดโดย รวมอยู่ในระดับสูง (x _ = 47.65,SD = 8.27)ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิด ก่อนกำหนดของผู้ดูแลหลักกับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่าการรับรู้ประโยชน์และการสนับสนุนของครอบครัวใน การส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนดของผู้ดูแลหลักมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการส่งเสริม พัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนดของผู้ดูแลหลักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(r = 340, p < .01 และ r = .216, p < .05ตามลำดับ)ส่วนการรับรู้อุปสรรคของการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนดของผู้ดูแลหลักมี ความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนดของผู้ดูแลหลักอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ(r = -.295, p < .01) ผลการศึกษาครั้งนี้ทำให้ได้แนวทางในการจัดบริการของพยาบาลเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการส่งเสริม พัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนดของผู้ดูแลหลักอย่างเหมาะสมต่อไปen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนด ของผู้ดูแลหลักและปัจจัยที่เกี่ยวข้องen_US
dc.title.alternativePreterm Infant Development Promoting Behaviors Among Primary Caregivers and Related Factorsen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleพยาบาลสารen_US
article.volume43en_US
article.stream.affiliationsโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่, จังหวัดเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.