Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48625
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ-
dc.contributor.authorจีระศักดิ์ ดวงใจen_US
dc.date.accessioned2018-05-03T02:09:09Z-
dc.date.available2018-05-03T02:09:09Z-
dc.date.issued2558-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48625-
dc.description.abstractThis is an independent that studies the patterns and processes for success in protecting the community from drug problems. The purpose is to analyse the patterns and processes that lead to success in preventing at Baan Dokbua village from illicit drug. Under the social context of lifestyle and culture of indigenous communities, the work collected information from gathering documents, doing interviews, conducting focus groups, observation, arranging participatory and non-participatory activities, and implementing indepth personal interviews. Content analysis was applied for making breaking down the results. The use of patterns and processes were made within the guidelines for preventing and solving community problems. The mechanisms that have community potential were the following: 1. A form of community self-reliance. The use of existing resources in the community or social capital is defined in the operating process as followed: 1.1 The participation of community members. This is done by sharing ideas on the occuring problem. Also, there is a joint implementation on the plan, activities, and evaluation. Furthermore, there are co- benefits by bringing together the temples, homes, and schools as the method for development. 1.2 The application of kinships. This is an intimately familiar feeling among participants, as they pool their caring efforts to help correct any improper conduct of community members and parents of each family. 1.3 The strengthening of community leaders to play a role. By modifying the concept of community in new ways and in carrying the community activities, the campaign defence members gain a better sense of their task and ara able to overcome the hardship of fighing against illegal drugs. The use of power on part of the community organizations will lead to a better existing community, thus causing learning and self-reliance for building a model community. 2. The management style of government agencies and organizations involved in anti-drug trafficking. Enhancement was made through all sectors in the local government units and government agencies undergoing a joint process to help promote development. Staff working through the government agencies was able to help the community and support the policy of the projects.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectรูปแบบen_US
dc.subjectกระบวนการสู่ความสำเร็จen_US
dc.subjectยาเสพติดen_US
dc.titleรูปแบบและกระบวนการสู่ความสำเร็จในการป้องกันชุมชนจากปัญหายาเสพติด : กรณีศึกษาบ้านดอกบัว ตำบลตุ่น อำเภอเมือง จังหวัดพะเยาen_US
dc.title.alternativePattern and Process for Achieving in Community Drugs Problem Prevention: A Case Study of Baan Dokbua, Tambon Toon, Amphoe Mueang Phayaoen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc362.92-
thailis.controlvocab.thashยาเสพติด -- เมือง (พะเยา)-
thailis.controlvocab.thashยาเสพติด -- การควบคุม-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 362.29 จ3711ร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระ เรื่องรูปแบบและกระบวนการสู่ความสำเร็จในการป้องกันชุมชนจากปัญหายาเสพติด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและกระบวนการจัดการที่นำไปสู่ผลสำเร็จใน การป้องกันหมู่บ้านปลอดภัยจากยาเสพติดของบ้านดอกบัว ภายใต้บริบททางสังคม วิถีชีวิต และวัฒนธรรมของชุมชนพื้นเมือง ผู้ศึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร สัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม การสังเกตุแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์เจาะลึกรายบุคคล การวิเคราะห์ใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาของชุมชน ใช้รูปแบบและกระบวนการต่างๆ ผ่านกลไกที่มีศักยภาพในชุมชน พอสรุปดังนี้ 1. รูปแบบชุมชนพึ่งตนเอง เป็นการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่หรือทุนทางสังคมในชุมชนเป็นตัวกำหนดในการดำเนินงานโดยผ่านกระบวนการสำคัญดังนี้ 1.1. กระบวนการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชน โดยร่วมกันคิดปัญหาในสิ่งที่เกิดขึ้น ร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน และร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผลประโยชน์ด้วยกัน โดยนำหลักการ บวร คือ บ้าน วัด โรงเรียน เป็นกลไกในการพัฒนา 1.2. ระบบเครือญาติที่สนิทสนมคุ้นเคยกันเป็นอย่างดีช่วยกันดูแลพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของสมาชิกในชุมชน และครอบครัว การอบรมเลี้ยงดูของแต่ละครอบครัว 1.3. กระบวนการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ผู้นำ ที่เข้ามามีบทบาท โดยการปรับเปลี่ยนแนวคิดการพัฒนาชุมชนในรูปแบบใหม่ๆ และชุมชนมีการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อการณรงค์ ป้องกันให้สมาชิกได้มีความรู้และภูมิคุ้มกันจากยาเสพติด ใช้พลังขับเคลื่อนขององค์กรชุมชนที่มีอยู่พัฒนาชุมชน สามารถเกิดการเรียนรู้และพึ่งพาตนเอง จนนำไปสู่การเป็นชุมชนต้นแบบ 2. รูปแบบการจัดการจากหน่วยงานของภาครัฐและองค์กรที่เกี่ยวข้องด้านยาเสพติด กระบวนการหนุนเสริมจากหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานภาครัฐทุกภาคส่วนที่เข้ามาช่วยส่งเสริมการพัฒนา โดยผ่านกลไกคือ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในชุมชน และนโยบาย โครงการต่างๆ ที่ผ่านมาทางหน่วยงานภาครัฐen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
03_บทคัดย่อ -.docxAbstract (words)191.16 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 352.98 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS4.22 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.