Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48584
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorสายฝน วงค์สุวรรณen_US
dc.date.accessioned2018-05-01T02:19:09Z-
dc.date.available2018-05-01T02:19:09Z-
dc.date.issued2558-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48584-
dc.description.abstractThe objectives of this study, Financial Risk Management of Group of Science and Technology Faculty, Chiang Mai University are to 1) study Financial Risk of Group of Science and Technology Faculty, Chiang Mai University and 2) evaluate Financial Risk factors of Group of Science and Technology Faculty, Chiang Mai University. There are 46 people of the sample group in this study. The questionnaires showing the sample group’s opinions towards Financial Risk level of Group of Science and Technology Faculty, Chiang Mai University are used as data collecting instrument, including other factors affecting the financial risk management and data gathered analysis such as frequency, percentage, average standard deviation, simple correlation, and relation. The study is inferred that 1. Financial Risk level of Group of Science and Technology Faculty, Chiang Mai University is divided into 3 level The overall risk level is in the low level whose average is equal to 10.47 showing that the risk is not too excessive to control. The tactic risk, 6 tactics, found that they mostly are in the low level. The issue risk, 14 issues, found that they mostly are in the low level. 2. The overall of Financial Risk factors of Group of Science and Technology Faculty, Chiang Mai University is in the medium level with the total average around 3.11 and standard deviation around 0.50. The study can be concluded that Overall internal Financial Risk of Group of Science and Technology Faculty, Chiang Mai University is in the medium level with total average around 3.24 Overall external Financial Risk of Group of Science and Technology Faculty, Chiang Mai University is in the medium level with total average around 2.97 3. The result of the hypothesis The 1st hypothesis Financial Risk of Group of Science and Technology Faculty, Chiang Mai University found that Sig. (2-tailed) is more than 0.05. It means accepting the main hypothesis (H0), the financial risk management is in the high level. The2nd hypothesis Financial Risk factors of Group of Science and Technology Faculty, Chiang Mai University found that most of them have nothing related to one another. It means that financial risk do not affect the process to achieve the goal set by the organization. Suggestions 1. Managing Director is supposed to know and understand well in the policy setting and financial planning, including strictly controlling the budget along with the plan already set. So the organization has no or less risk. 2. Managing Director has to analyze and follow up the result of the project or other activities in order to keep it as planned and achieve the objectives set. This reduces the possible risk. 3. Authorities, officers, or operators are supposed to know and understand in financial risk management to prevent the possible risk. 4. Managing Director is supposed to set the strategic plan in advance and promote it to the officers related for understanding the organizer’s policy. 5. Financial risk management needs a continuous process. Following the result is considered as an important matter as well. Due to the new possible risk that keeps occurring, so the managing director and everyone who has related to, have to manage the risk of the organization an also know how to fix it.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจัดการความเสี่ยงen_US
dc.subjectการเงินen_US
dc.subjectกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการความเสี่ยงด้านการเงินของกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFinancial Risk Management of Group of Science and Technology Faculty, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc332.6-
thailis.controlvocab.thashการบริหารความเสี่ยง-
thailis.controlvocab.thashการเงิน-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 332.6 ส265ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง การจัดการความเสี่ยงด้านการเงินของกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยเสี่ยงด้านการเงินของกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2)ประเมินปัจจัยเสี่ยงด้านการเงินของกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ มีจำนวนทั้งสิ้น 46 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความเสี่ยงด้านการเงินของกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการความเสี่ยงด้านการเงิน การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถาม ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย และการค่าความสัมพันธ์ ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1. ระดับความเสี่ยงด้านการเงินของกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับความเสี่ยงภาพรวมอยู่ในระดับความเสี่ยงน้อย ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.47 แสดงให้เห็นว่าความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นนั้นไม่มีความรุนแรงมากเกินไปที่จะควบคุมไม่ได้ ระดับความเสี่ยงตามยุทธศาสตร์ จำนวน 6 ยุทธศาสตร์ พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในระดับความเสี่ยงน้อย ระดับความเสี่ยงตามประเด็น จำนวน 14 ประเด็น ส่วนใหญ่มีระดับความเสี่ยงน้อย 2. ปัจจัยที่มีผลต่อความเสี่ยงด้านการเงินของกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยรวม 3.11ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 โดยสามารถสรุปผลการศึกษา ได้ดังนี้ ปัจจัยเสี่ยงภายในที่มีผลต่อความเสี่ยงด้านการเงินของกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยรวม 3.24 ปัจจัยเสี่ยงภายนอกที่มีผลต่อความเสี่ยงด้านการเงินของกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยรวม 2.97 3. ผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานข้อที่ 1ระดับความเสี่ยงด้านการเงินของกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่า ค่า Sig. (2-tailed) มีค่ามากกว่า 0.05 แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก (H0) นั่นคือ ระดับความเสี่ยงในการจัดการด้านการเงินอยู่ในระดับมาก สมมติฐานข้อที่ 2 ปัจจัยที่มีผลต่อความเสี่ยงด้านการเงินต่อระดับความเสี่ยงด้านการเงิน ของกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีความ สัมพันธ์กัน นั่นคือความเสี่ยงด้านการเงินไม่มีผลต่อการดำเนินงานให้บรรลุผลตามเป้าหมายขององค์การที่กำหนดไว้ ข้อเสนอแนะ 1. ผู้บริหารองค์การต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการกำหนดนโยบายและวางแผน การใช้งบประมาณอย่างดี รวมทั้งควรมีการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงบประมาณ ที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด การบริหารองค์การจึงจะไม่มีความเสี่ยงหรือมีน้อยลง 2. ผู้บริหารองค์การ ต้องมีการวิเคราะห์และติดตามผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามแผนงบประมาณและบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ จะสามารถลดความเสี่ยง ที่จะเกิดขึ้นได้ 3. ผู้ปฏิบัติงานควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการความเสี่ยงด้านการเงินเป็นอย่างดี เพื่อจะได้ป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ 4. ผู้บริหารควรมีการวางแผนกลยุทธ์ทางการเงิน และมีการประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรรับรู้ร่วมกัน เพื่อรับทราบนโยบายของหน่วยงาน 5. การจัดการความเสี่ยงด้านการเงินเป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ทั้งการ ติดตามผล ซึ่งถือเป็นเรื่องที่สำคัญ เพราะปัจจุบันมีความเสี่ยงใหม่ที่สามารถเกิดขึ้นได้เสมอ ดังนั้นผู้บริหารและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน ต้องร่วมกันจัดการความเสี่ยงของหน่วยงาน และรู้วิธีการแก้ไขความเสี่ยงได้en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)184.62 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract255.43 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS3.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.