Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48577
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorBordin Chinda-
dc.contributor.authorTalubpet Hathaiponen_US
dc.date.accessioned2018-04-30T06:20:18Z-
dc.date.available2018-04-30T06:20:18Z-
dc.date.issued2558-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48577-
dc.description.abstractThis Independent Study “Effectiveness of Mnemonic Strategies in Teaching Frequency Vocabulary: A Case Study of English for Further Study in University Course for Mathayom 5 Students at Bunyawat Witthayalai School, Lampang is intended to examine the students’ academic improvement in terms of vocabulary acquisition after the implementation of mnemonic strategies. Subjects of the study were 52 students in Matthayom 5 room 2 at Bunyawat Witthayalai School, Lampang province. Upon the process of data collection, vocabulary (pre-post) tests, a 5-likert-scale questionnaire, and a semi-structured interview were respectively employed as instruments. To analyze the collected data, means, standard deviation and the t-test scores from the pre-tests and post-tests, the questionnaires were examined by the program SPSS (Statistical Package for the Social Science for Windows) while the findings from the interview were scrutinized by Content Analysis. Based on the research results, mnemonic strategies have proven to be effective as they evidently boost vocabulary learning at a level of statistical significance of 0.71. It was also found that the mnemonic strategies could meet the students’ satisfaction in high level as they facilitate the students not only in terms of English vocabulary, but also in other subject matters. In addition, the students reflect positive attitudes towards learning the mnemonic, the implementation process, and the applicability of strategies at a very high level as well. However, in spite of some limitations of the implementation; time constraint and the sophistication of English vocabulary, the students recognized that mnemonic activate not only their lexical memory, but also their enthusiasms in learning. They also positively described how their lexical capacity had improved after they learned the strategies. Additionally, they had agreed upon the suitable applicability of the techniques in other courses. In conclusion, the mnemonic heightens students’ vocabulary competence in English and learners can also apply and integrate these learning strategies with other subject areas.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectEffectivenessen_US
dc.subjectMnemonic Strategiesen_US
dc.subjectTeaching Frequency Vocabularyen_US
dc.subjectBunyawat Witthayalai Schoolen_US
dc.titleEffectiveness of Mnemonic Strategies in Teaching Frequency Vocabulary: A Case Study of English for Further Study in University Course for Mathayom 5 Students at Bunyawat Witthayalai School, Lampangen_US
dc.title.alternativeประสิทธิผลของกลยุทธ์ช่วยจำในการสอนคำศัพท์ที่พบบ่อย : กรณีศึกษาของรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปางen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc420.712-
thailis.controlvocab.thashBunyawat Witthayalai School-
thailis.controlvocab.thashEnglish language -- Study and teaching (Secondary)-
thailis.controlvocab.thashEnglish language -- Vocabulary-
thailis.manuscript.callnumberTh/N 420.712 T152E-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระฉบับนี้ เรื่อง ประสิทธิผลของกลยุทธ์ช่วยจำในการสอนคำศัพท์ที่พบบ่อย : กรณีศึกษาของรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความรู้ด้านวิชาการที่เกี่ยวเนื่องกับความสามารถด้านการพัฒนาคำศัพท์หลังการเรียนรู้กลยุทธ์ช่วยจำ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาในมหาวิทยาลัย จำนวน 52 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลในงานวิจัยนี้จัดเรียงตามลำดับได้แก่แบบทดสอบคำศัพท์เบื้องต้นและแบบทดสอบภายหลังการเรียนรู้ แบบสอบถามตามมาตรวัดของลิเคิร์ท โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนคำตอบ 5 ระดับ และการสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง ในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติ SPSS คำนวณค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ในการทำแบบทดสอบเบื้องต้นและภายหลังการเรียนรู้รวมทั้งแบบสอบถาม ขณะเดียวกันผู้วิจัยได้ใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้รับจากการสัมภาษณ์ จากผลของการวิจัยนี้พบว่า กลยุทธ์ช่วยจำสามารถช่วยพัฒนาทักษะด้านคำศัพท์ดังค่าที่แสดงระดับผลนัยสำคัญทางสถิติได้เท่ากับ 0.71 ในขณะเดียวกัน งานวิจัยนี้ยังพบว่ากลยุทธ์ช่วยจำ สามารถเสริมสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้เรียนได้ในระดับดีมากในฐานะตัวช่วยจดจำคำศัพท์ให้ง่ายขึ้นไม่เฉพาะในวิชาภาษาอังกฤษเท่านั้นแต่ยังใช้กับเนื้อหาในรายวิชาอื่นได้อีกด้วย ยิ่งไปกว่านั้น ทัศนคติเชิงบวกต่อการเรียนรู้กลยุทธ์ช่วยจำและกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการนำกลยุทธ์ไปประยุกต์ใช้ของนักเรียนอยู่ในระดับดีมากเช่นกัน แต่ถึงกระนั้น แม้จะมีจุดด้อยในกระบวนการเรียนการสอน อาทิ เวลาที่จำกัด และความซับซ้อนของคำศัพท์ปรากฏให้เห็นอยู่บ้าง แต่นักเรียนต่างยอมรับว่ากลยุทธ์ช่วยจำไม่เพียงช่วยกระตุ้นในการจดจำคำศัพท์เท่านั้นแต่ยังหมายรวมถึงความสนใจในการเรียนรู้อีกด้วย ทั้งนี้ นักเรียนยังสามารถอธิบายได้ว่า ศักยภาพในการใช้คำศัพท์หลังการเรียนรู้กลยุทธ์ช่วยจำของตนพัฒนาขึ้นอย่างไรบ้าง นอกจากนี้ นักเรียนยังลงความเห็นว่ากลยุทธ์ช่วยจำเป็นเทคนิคที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการเรียนในรายวิชาอื่นได้อย่างเหมาะสม โดยสรุป กลยุทธ์ช่วยจำช่วยเพิ่มทักษะความสามารถด้านคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนให้ดีขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้และบูรณาการกับวิชาอื่นได้en_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract53.63 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract374.72 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS13.36 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.