Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46038
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSomchai Pattana-
dc.contributor.authorSathit Banthueken_US
dc.date.accessioned2018-04-09T03:52:45Z-
dc.date.available2018-04-09T03:52:45Z-
dc.date.issued2014-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46038-
dc.description.abstractThe main objective of this study has been to fabricate the Thai silk fibroin based electrospun nanofibrous scaffolds for articular cartilage cell culture. In this research contribution, electrospinning was used to fabricate silk fibroin (SF) nanofibers from cocoons of indigenous Thai Bombyx mori silkworms (Nangnoi Srisaket-I). The effects of SF concentration (i.e., 20–50% (w/v) in 98% formic acid) and applied voltage (i.e., 15, 20 and 25 kV) on morphology and diameter size of the electrospun SF nanofibrous scaffolds were investigated by Scanning Electron Microscopy (SEM). To confirm the composition structure of silk fibroin, the chemical structure of silk fibroin nanofibers was investigated by Fourier Transform Infra Red Spectroscopy, (FTIR) compare with degummed silk fiberse. The average diameter of the resulting of electrospun SF nanofibrous scaffolds was found to increase with the increase in the solution concentration. Furthermore, the fiber diameter has also been considered as the main factor to influence the mechanical properties of silk fibroin nanofibrous scaffold. These characteristic could provide the utility data of Thai silk fibroin nanofiners for tissue engineering applications. In addition, Electrospinning technique could produce nanofibers in the range of diameter from 100–300 nm. which have nearby diameter size of collagen fibers in articular cartilage extracellular matrix. For Biocompatibily, silk nanofibrous scaffolds showed non-toxicity toward PBMC cell and chondrocyte cell line, sw1353. This contribution provided some characteristic of Thai silk fibroin nanofibers that could be apply for biomaterials and tissue engineering applications.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectThai silken_US
dc.subjectNanofibrous scaffoldsen_US
dc.subjectArticular cartilageen_US
dc.titleCharacterization of Thai Silk Fibroin Based Electrospun Nanofibrous Scaffolds for Articular Cartilage Cell Cultureen_US
dc.title.alternativeลักษณะเฉพาะของโครงเลี้ยงเนื้อเยื่อชนิดเส้นใยนาโนจากไฟโบรอินในเส้นใยไหมไทยด้วยวิธีอิเล็คโตรสปินสำหรับใช้ในการเลี้ยงเซลล์กระดูกอ่อนผิวข้อen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc620.5-
thailis.controlvocab.thashNanostructured materials-
thailis.controlvocab.thashNanofibers-
thailis.controlvocab.thashSilk-
thailis.controlvocab.thashElectrons-
thailis.manuscript.callnumberTh 620.5 S253C-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโครงเลี้ยงเนื้อเยื่อชนิดเส้นใยนาโนจากไฟโบรอินในเส้นใยไหมไทยด้วยวิธีอิเล็คโตรสปินสำหรับใช้ในการเลี้ยงเซลล์กระดูกอ่อนผิวข้อ โดยในการศึกษานี้ได้นำเทคนิคอิเล็คโตรสปินได้ถูกนำมาใช้เพื่อสร้างเส้นใยนาโนจากสารละลายไฟโบรอิน ซึ่งเป็นโปรตีนที่สังเคราะห์มาจากรังไหมไทยพันธุ์พื้นเมือง ชื่อว่า นางน้อยศรีสะเกษหนึ่ง สารละลายไฟโบรอินในรูปแบบของเหลวได้ถูกนำไปผลิตเส้นใยนาโนในสภาวะที่แตกต่างกัน ซึ่งตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ความเข้มข้นของสารละลายไฟโบรอินในตัวทำละลายกรดฟอร์มิค 98 % (ความเข้มข้นร้อยละ 20 ถึง 50 น้ำหนักต่อปริมาตร) และค่าศักย์ไฟฟ้าแรงสูง (15, 20 และ25 กิโลโวลต์) โครงสร้างทางกายภาพ โครงสร้างภายในของโปรตีนไฟโบรอินถูกตรวจสอบด้วยเครื่องจุลทรรศน์อิเล็คตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope, SEM) และฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี (Fourier Transform Infra Red Spectroscopy, FTIR) จากผลการทดลองพบว่า สภาวะที่ใช้ทั้งความเข้มข้นของสารละลายและความเข้มของศักย์ไฟฟ้าส่งผลต่อการเกิดขนาดเส้นใยนาโนที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความหนืดของสารละลาย และอัตราเร็วในการพ่นสารละลายไฟโบรอิน ผลของการทดสอบคุณสมบัติเชิงกลด้วยวิธีการกดจโดยใช้กล้องจุลทรรศน์แบบแรงอะตอม (Atomic Force Microscopy, AFM) พบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นใยมีอิทธิพลต่อค่าโมดูลัสความยืดหยุ่น โดยมีค่ามากขึ้นตามขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นใยที่มากขึ้น งานวิจัยนี้สามารถผลิตเส้นใยนาโนจากไฟโบรอินของรังไหมที่มีขนาดอยู่ในช่วง 100-300 นาโนเมตร ซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกับเส้นใยคอลลาเจนที่ทำหน้าที่เป็นเมตริกซ์ของกระดูกอ่อนผิวข้อ การทดสอบความเข้ากันได้ทางชีวภาพ ทำขึ้นโดยการนำตัวอย่างมาทดสอบความไม่เป็นพิษด้วยการทดลองเลี้ยงเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด PBMC และเซลล์กระดูกอ่อนพบว่าไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อ เซลล์ทั้งสองชนิด ซึ่งอัตราการมีชีวิตของเซลล์มีมากกว่าร้อยละ 60 เมื่อเทียบกับตัวอย่างที่ถูกควบคุม คุณลักษณะของเส้นใยนาโนที่ได้จากงานวิจัยนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นโครงเลี้ยงเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงเซลล์กระดูกอ่อนและงานทางด้านวิศวกรรมเนื้อเยื่อen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf ABSTRACT330.19 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdf APPENDIX584.17 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1256.84 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2532.5 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3568.87 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdf CHAPTER 4870.27 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5223.27 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdf CONTENT252.86 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER669.41 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE346.79 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.