Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40030
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.วรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorนภาพร ปานกลัดen_US
dc.date.accessioned2017-09-01T03:44:55Z-
dc.date.available2017-09-01T03:44:55Z-
dc.date.issued2558-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40030-
dc.description.abstractThe objectives of this study, Effectiveness Evaluation of Community Energy Planning Projects in Chiang Mai Province are to 1) study the effectiveness levels of Community Energy Planning Projects in Chiang Mai Province, 2) study the process that results in the effectiveness of Community Energy Planning Projects in Chiang Mai Province, and 3) study the problems and difficulties of Community Energy Planning Projects in Chiang Mai Province. Sample groups participating in this study consists of 400 households by using the statistics collecting for analyzing the data namely percentage, and data interviewed from Chief Executive of the Sub-district Administrative Organization, mayor or acting mayor of, Provincial Energy-Chiang Mai, and authorities of Chiang Mai Department of local Administration and Provincial Energy Office-Chiang Mai by interview form and the papers related in data-gathering from secondary data analysis processing. The study found that The effectiveness level of Community Energy Planning Projects in Chiang Mai Province. The study found that effectiveness level of Community Energy Planning Projects in Chiang Mai Province is in the good medium level. The process level which influences the effectiveness of Community Energy Planning Projects in Chiang Mai Province. The study found that the process, public relations, energy training program, participation management, and networking that affect the effectiveness in the good medium level. Problems and difficulties in Community Energy Planning Projects in Chiang Mai Province are Changing community leaders and community leaders’ who neglect the importance of the process which turn the process go on discontinuously. Ways of life in some localities do not conform to the time identified in the project, and make them unable to participate in the project process. Chiang Mai Department of local Administration lacks human resources to operate in the energy field and also confronts financial problems, unable to carry out the project continuously. Chiang Mai Ministry of energy confronts financial problems, unable to carry out the project effectively and continuously. Haman resources are not expert enough and lacks skills in operating the project. Suggestion Community Energy Planning Projects in Chiang Mai Province is supposed to clearly inform the objectives and process method to the community leaders so that they are able to apply it to develop some energy in their localities. Community Energy Planning Projects in Chiang Mai Province should conform to the local ways of life. Local Administration is supposed to provide the best care in financial support and human resources in operating and managing the energy reserving project or promote continuously alternative energy. Ministry of Energy is supposed to provide a financial support for the project by considering the province context which probably takes the project in action and develops the human resources potential. Ministry of Energy and Local Administration is supposed to focus on human resources potential development in operating project.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการพัฒนาพลังงานen_US
dc.titleการประเมินประสิทธิผลการดำเนินโครงการวางแผนพลังงาน ชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffectiveness Evaluation of Community Energy Planning Projects in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc333.7915-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาพลังงาน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashนโยบายพลังงาน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashพลังงาน -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 333.7915 น162ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาการประเมินประสิทธิผลการดำเนินโครงการวางแผนพลังงานชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการดำเนินงานของโครงการวางแผนพลังงานชุมชนใน จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาระดับของกระบวนงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโครงการวางแผนพลังงานชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของโครงการวางแผนพลังงานชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย ครัวเรือนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 400 ครัวเรือน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ และข้อมูลการสัมภาษณ์จากนายกองค์การบริหารส่วนตำบล นายกเทศมนตรีตำบลหรือผู้รักษาการแทนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พลังงานจังหวัดเชียงใหม่ และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสำนักงานพลังงานจังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แบบสัมภาษณ์และเอกสารที่เกี่ยวข้องในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการประมวลผลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับประสิทธิผลการดำเนินงานของโครงการวางแผนพลังงานชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า ผลการดำเนินโครงการวางแผนพลังงานชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่มีประสิทธิผลระดับปานกลางค่อนข้างมาก 2) ระดับของกระบวนงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโครงการวางแผนพลังงานชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า กระบวนงาน การประชาสัมพันธ์ การการอบรมให้ความรู้ด้านพลังงาน การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม และการสร้างเครือข่าย ส่งผลต่อประสิทธิผลในระดับ ปานกลางค่อนข้างมาก 3) ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของโครงการวางแผนพลังงานชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ คือ 1. การเปลี่ยนแปลงผู้นำชุมชนและผู้นำชุมชนไม่เห็นความสำคัญทำให้การดำเนินโครงการส่งผลให้โครงการไม่มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2. วิถีชีวิตของชุมชนบางส่วนที่ไม่สอดคล้องกับระยะเวลาในการดำเนินโครงการ ทำให้ไม่สามารถเข้าร่วมกระบวนการในการดำเนินโครงการได้ 3. การจัดสรรทรัพยากรบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งในด้านสภาพปัญหาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีปริมาณบุคลากรไม่เพียงพอในการรับผิดชอบงานด้านพลังงานโดยตรง และปัญหาด้านงบประมาณไม่เพียงพอในการดำเนินโครงการให้ต่อเนื่อง 4. การจัดสรรทรัพยากรบริหารของสำนักงานพลังงานจังหวัดเชียงใหม่ ด้านงบประมาณยังไม่เพียงพอในการดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิผลเท่าที่ควร และปัญหาด้านบุคลากรยังขาดความชำนาญ และขาดทักษะในการบริหารงานลักษณะโครงการ 4) ข้อเสนอแนะ มีดังนี้ 1. การดำเนินโครงการวางแผนพลังงานชุมชนควรสร้างความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ และวิธีการดำเนินโครงการให้ผู้นำชุมชนเข้าใจและสามารถนำไปผลักดันในเกิดความการพัฒนาด้านพลังงานในชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง 2. ควรมีการวางแผนการดำเนินงานโครงการวางแผนพลังงานชุมชนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรให้ความสำคัญในการจัดสรรงบประมาณและบุคลากรในการดำเนินโครงการด้านการอนุรักษ์พลังงานหรือการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 4. สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงานควรมีการจัดสรรงบประมาณในการดำเนินโครงการโดยพิจารณาจากบริบทของจังหวัดที่จะนำโครงการไปปฏิบัติและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในการบริหารจัดการงานลักษณะโครงการ 5. สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงานและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรให้ความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในการบริหารงานลักษณะโครงการen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)179.33 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract193.55 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS3.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.