Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39985
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.อุดมโชค อาษาวิมลกิจ-
dc.contributor.authorปุณย์ภินันท์ วุทธีรพลen_US
dc.date.accessioned2017-08-25T04:32:39Z-
dc.date.available2017-08-25T04:32:39Z-
dc.date.issued2557-09-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39985-
dc.description.abstractThe study “Needs for Staff Development of the Secretariat Office, Faculty of Medicine, Chiang Mai University” aimed to 1) survey and analysis the state of self-development of the Secretariat Office staff at Faculty of Medicine, Chiang Mai University, 2) study the needs for staff development, and 3) examine the problems in staff development of the Secretariat Office staff at Faculty of Medicine, Chiang Mai University. The data revealed that: 1. The staff of the Secretariat Office staff at Faculty of Medicine, Chiang Mai University had a high level of self-development, including, skill development, attitude development, and knowledge development, respectively. 2. The needs for staff development of the Secretariat Office staff at Faculty of Medicine, Chiang Mai University were at a high level. The needs could be divided into 2 groups: content and activities of self-development. For the content of self-development, there were 3 skills. The first needed skill was the human skill, especially human relations. The second needed skill was the technical skill. This skill included how to choose appropriate performance techniques. The third needed skill was the conceptual skill, such as problem-solving skills, follow-up skills, and planning skills. Furthermore, it was found that the self-development activities were needed at a moderate level. In other words, the staff members needed individual self-development activities the most. 3. There were many problems in staff development of the Secretariat Office staff at Faculty of Medicine, Chiang Mai University. First of all, concerning the process, the majorities of the samples agreed that there was a lack of accurate information about the problems and the needs of the staff. In terms of the project initiation, there was a lack of continuity caused by the rotation of the administrators. Concerning the responsibility assignment, the coordinators did not have the ability in staff development at a faculty of section level. In addition, for the budget, it was found that there was insufficient fund supporting staff development activities. In terms of the follow-up and evaluation, the data indicated that there was a lack of the analysis and conclusion from the staff development activities for improvement and suggestions for the future activities. Also concerning the staff themselves, it was found that the majority of them had financial problems and did not have opportunities for self-development. Finally, the problems concerning the jobs were caused by the characteristics of the jobs and the responsibilities did not support self-development.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการพัฒนาบุคลากรen_US
dc.titleความจำเป็นในการพัฒนาบุคลากร ของสำนักงาน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeNeeds for Staff Development of the Secretariat Office, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc331.11-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะแพทยศาสตร์ -- บุคลากร-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาบุคลากร-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 331.11 ป446ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง ความจำเป็นในการพัฒนาบุคลากร ของสำนักงานคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสำรวจและวิเคราะห์สภาพในการพัฒนาตนเองของบุคลากร ของสำนักงานคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้มีความเหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน (2) เพื่อวิเคราะห์ถึงความจำเป็นในการพัฒนาตนเองของบุคลากรและองค์ความรู้ที่บุคลากรต้องการได้รับการเพิ่มพูน เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาในการพัฒนาตนเองของบุคลากร ของสำนักงานคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์สภาพในการพัฒนาตนเองของบุคลากร สำนักงานคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่า บุคลากรของสำนักงานคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีการพัฒนาตนเองของบุคลากรในระดับมาก โดยเป็นการพัฒนาตนเองในด้านทักษะ (Skill) มากที่สุด รองลงมาคือ บุคลากรที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมีสภาพการพัฒนาตนเองในด้านเจตคติ (Attitude) อันดับสุดท้ายคือ บุคลากรมีสภาพการพัฒนาตนเองในด้านความรู้ (Knowledge) 2. บุคลากรสำนักงานคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีความจำเป็นในการพัฒนาตนเองของในระดับมาก โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ด้านหลัก ได้แก่ 1. ด้านเนื้อหาในการพัฒนาตนเอง ซึ่งประกอบด้วยทักษะ 3 ด้าน ได้แก่ 1) ทักษะด้านมนุษย์ (Human Skill) พบว่า โดยรวมมีความจำเป็นในการพัฒนาตนเองของบุคลากรอยู่ในระดับมาก เรื่องการใช้หลักมนุษยสัมพันธ์ในการอยู่ร่วมกันเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ 2) ทักษะด้านเทคนิควิธีการ (Technical Skill) กล่าวคือการเลือกใช้วิธีการต่างๆ ในการปฏิบัติงานให้ประสบความสำเร็จได้อย่างเหมาะสม และสุดท้าย 3) ทักษะด้านความคิดรวบยอด (Conceptual Skill) อันได้ แก่การแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน การติดตามผลการปฏิบัติงาน และการจัดทำแผนงานในการปฏิบัติงาน เป็นต้น 2. ด้านกิจกรรมในการพัฒนาตนเอง พบว่ามีความจำเป็นในระดับปานกลาง กล่าวคือ บุคลากรจำเป็นต้องพัฒนาตนเองในด้านกิจกรรมที่ทำเป็นรายบุคคลมากที่สุด 3. สถานะของปัญหาในการพัฒนาตนเองของบุคลากรสำนักงานคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในด้านต่างๆต่อไปนี้พบว่า 1) ด้านกระบวนการส่วนใหญ่มีความเห็นว่า มีการขาดข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับสภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาบุคลากร 2) ด้านการพัฒนาบุคลากรการจัดทำโครงการต่างๆ ยังขาดความต่อเนื่องและมีการเปลี่ยนแปลงตามวาระการบริหารงานของผู้บริหาร 3) ด้านการกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบยังขาดผู้ประสานงานที่มีความรู้ความสามารถในด้านการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานระดับคณะ/หน่วยงาน 4) ด้านงบประมาณ การดำเนินการในการพัฒนาบุคลากรยังขาดแคลนงบประมาณในการสนับสนุนการจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาบุคลากร 5) ด้านการติดตามและประเมินผล พบว่า ขาดการวิเคราะห์และหาข้อสรุปที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร เพื่อปรับปรุงแก้ไขโครงการ/กิจกรรมในครั้งต่อไป 6) ปัญหาด้านตัวบุคลากร พบว่า บุคลากรส่วนใหญ่มีปัญหาเกี่ยวกับภาวะทางเศรษฐกิจ ขาดโอกาสที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาตนเองและ 7) ปัญหาด้านหน้าที่การงาน เกิดจากลักษณะงานและตำแหน่งหน้าที่ที่รับผิดชอบไม่เอื้ออำนวยต่อการไปศึกษาหรือพัฒนาตนเองen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf ABSTRACT183.02 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX392.01 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1214.34 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2367.89 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3214.13 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4454.58 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5260.08 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT248.43 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE260.33 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.