Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39960
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอ.พญ.สุชยาลือวรรณ-
dc.contributor.authorปิยธิดา ภุมราen_US
dc.date.accessioned2017-08-25T02:25:16Z-
dc.date.available2017-08-25T02:25:16Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39960-
dc.description.abstractBackground: Preterm birth is the most common direct cause of neonatal death, especially in developing countries. The rate, in our region, northern part of Thailand, is as high as 15% of live births Additionally, the rates of preterm birth are increasing. All attempts must be made to prevent this serious event. Objective: To determine the strength of relationship between PAPP-A concentrations using Thai-specific reference range, and rates of idiopathic preterm delivery Methods: The records of singleton pregnancies, undergoing first-trimester screening for fetal Down syndrome, between January 2007 and July 2012, were accessed. Serum PAPP-A levels were measured and divided into 2 groups, a group of normal PAPP-A levels (>10th percentile) and a group of low PAPP-A levels (< 10th percentile). The main outcome is the rate of idiopathic preterm births before 37, 34 and 32 weeks of gestation in the two groups Results: The rates of spontaneous preterm birth at <37, <34 and <32 weeks of gestation were significantly higher in women with low PAPP-A levels, (7.6% vs 17.9%, 3.1% vs 11.9%, 2.2% vs 11.9%), with a relative risk of 2.37, 3.79, and 5.41 for preterm birth, respectively (P value < 0.001) Conclusion: In children with asthma and allergic rhinitis attending Allergy Clinic at CMU Hospital, indoor allergen was more important than outdoor allergens in all age groups. Increased sensitization to pollen was observed in the past 10 years. Children with two or more allergic disease had higher chance of sensitization. Sensitization rates and frequency of polysensitization tended to increase with age.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectDelivery, Obstetricen_US
dc.subjectPregnancy-Associated Plasma Protein-Aen_US
dc.titleความสัมพันธ์ของPAPP-A ในช่วงไตรมาสแรกกับสภาวะคลอดก่อนกำหนดen_US
dc.title.alternativeAssociation Between First Trimester PAPP-A and Preterm Deliveryen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.meshDissertations, academic -- Obstetrics and Gynecology-
thailis.controlvocab.meshDelivery, Obstetric-
thailis.controlvocab.meshPremature Birth-
thailis.controlvocab.meshPregnancy-Associated Plasma Protein-A-
thailis.manuscript.callnumberThesis W 4 Obs.Gyn. ป236ค 2557-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความเป็นมา: ภาวะคลอดก่อนกำหนด ถือเป็นสาเหตุสำคัญทางสูติศาสตร์ และยังเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิด การเสียชีวิตของทารกแรกเกิดมากที่สุด สำหรับในบริเวณภาคเหนือของประเทศไทยนั้น ได้มีการเก็บรวบรวมสถิติพบว่ามีอัตราการคลอดก่อนกำหนดประมาณ 15% ของการเกิดมีชีพทั้งหมด จะเห็นได้ว่า อุบัติการณ์การเกิดภาวะคลอดก่อนกำหนดนั้นมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในปัจจุบัน และยังคงไม่สามารถจะหาวิธีป้องกันไม่ให้เกิดภาวะดังกล่าวได้ วัตถุประสงค์: เพื่อทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับ serum PAPP-A (อ้างอิงจากค่ามาตรฐาน ของประชากรไทย) ในช่วงไตรมาสแรก กับภาวะคลอดก่อนกำหนดที่ไม่ทราบสาเหตุ วัสดุและวิธีการ:เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง นำข้อมูลสถิติของสตรีตั้งครรภ์เดี่ยวที่มารับบริการเจาะเลือดตรวจหาระดับ serum marker ในช่วงไตรมาสแรกเพื่อคัดกรองกลุ่มอาการดาวน์ ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2550 – กรกฎาคม พ.ศ. 2555โดยมีการเก็บตัวอย่างเลือดจากหญิงตั้งครรภ์และนำข้อมูล serum PAPP-A ที่ได้มาจัดเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีระดับ PAPP-A ปกติคือมีค่ามากกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 10 กับกลุ่มที่มีระดับ PAPP-A ต่ำกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 10 เพื่อวิเคราะห์อัตราการคลอดก่อนอายุครรภ์ 32 สัปดาห์, 34 สัปดาห์ และ 37 สัปดาห์, ในแต่ละกลุ่ม ผลการศึกษา: อัตราการคลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์, 34 สัปดาห์ และ 32 สัปดาห์ในกลุ่มที่ระดับ PAPP-A ต่ำกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 10 สูงกว่ากลุ่มที่มีระดับ PAPP-A ปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (7.6% กับ 17.9%, 3.1% กับ 11.9%, 2.2% กับ 11.9%) และมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดการคลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์, 34 สัปดาห์ และ 32 สัปดาห์ เท่ากับ 2.37, 3.79, และ 5.41 เท่าตามลำดับ (P value <0.001) สรุป: ระดับ PAPP-A ที่ต่ำกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 10 เพิ่มความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้นในหญิงตั้งครรภ์ที่มีระดับ PAPP-A ต่ำกว่าปกติอาจจะมีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดได้en_US
Appears in Collections:MED: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT172.78 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX171.32 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1262.24 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2155.29 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3266.78 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4249.92 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5288.91 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT169.3 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER521.59 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE113.04 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.