Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39860
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorณัฐกิจ พลเยี่ยมen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T16:01:43Z-
dc.date.available2016-12-12T16:01:43Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39860-
dc.description.abstractThe objectives of the study were 1) to study about Guard Shifting Pattern for the Officials in Chiang Mai Women Correctional Institution 2) to study the impact of guard duty of the officials in Chiang Mai Women Correctional Institution 3) to develop the appropriate pattern of guard shifting for the officials in Chiang Mai Women Correctional Institution. The study used a questionnaire and interview schedule to collect data from 45 officials in Chiang Mai Women Correctional Institution. The results were summarized below. 1) The guard shifting pattern for the officials in Chiang Mai Women Correctional Institution had the performance as follows: In one week, the officials had to work three nights and one day and all officials had to rotate shift work. The command that assigned to work on Tuesday, Wednesday, and Thursday was scheduled on Monday and the command that assigned to work on Friday, Saturday, Sunday, and Monday was scheduled on Thursday. 2) The impact of guard duty was the social impact that made the officials lost the important time spent with the important person in their lives and no time to relax. 3) The appropriate pattern of guard shifting for the officials in Chiang Mai Women Correctional Institution should be adjusted in the management which prepared more tools, materials, and technology to support the performance of guard shifting and assign guard duty one month in advance. The officials could select their own shifts, rotate shifts, and assign place of duty. On the duty of guard shifting would appropriate for the officials in Chiang Mai Women Correctional Institution so that the suggestions of the study were as follows: 1) The institution should provide more technology to control the prisoners to decrease the number of officials that work in shifts. 2) The institution should adjust the assignment of guard duty as one month in advance so that the officials can plan a long-term lifestyle and relieve problem with no time to relax. 3) The institution should provide the opportunities for the officials to take part in modifying the assignment of guard duty.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการปฏิบัติหน้าที่en_US
dc.subjectเวรรักษาการณ์en_US
dc.subjectเจ้าหน้าที่ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการปฏิบัติหน้าที่เวรรักษาการณ์ของเจ้าหน้าที่ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Development of guard shifting pattern for the officials in Chiang Mai Women Correctional Institutionen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc365.6-
thailis.controlvocab.thashทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเจ้าพนักงานเรือนจำ-
thailis.controlvocab.thashการทำงาน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 365.6 ณ113ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษารูปแบบการปฏิบัติหน้าที่เวรรักษาการณ์ของเจ้าหน้าที่ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ 2)ศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่เวรรักษาการณ์ของเจ้าหน้าที่ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ 3)พัฒนารูปแบบการปฏิบัติหน้าที่เวรรักษาการณ์ที่เหมาะสมกับเจ้าหน้าที่ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ วิธีการศึกษาใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ จำนวน 45 คน โดยผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) รูปแบบการปฏิบัติหน้าที่เวรรักษาการณ์ของเจ้าหน้าที่ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ มีลักษณะการปฏิบัติงานดังนี้ เจ้าหน้าที่ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ปฏิบัติหน้าที่เวรรักษาการณ์ ใน 1 สัปดาห์ ปฏิบัติหน้าที่เวร 3 คืน และอีก 1 กลางวัน หมุนเวียนสับเปลี่ยนผลัดกัน คำสั่งกำหนดหน้าที่ในวันอังคาร พุธ พฤหัสบดี กำหนดในวันจันทร์ กำหนดหน้าที่เวรในวัน ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ และจันทร์ กำหนดในวันพฤหัสบดี 2) ผลกระทบที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่เวรรักษาการณ์ ได้แก่ผลกระทบทางด้านสังคม คือทำให้เจ้าหน้าที่พลาดโอกาสสำคัญของบุคคลสำคัญ และไม่มีเวลาพักผ่อน 3) รูปแบบการปฏิบัติหน้าที่เวรรักษาการณ์ที่เหมาะสมกับเจ้าหน้าที่ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ ควรปรับด้านการจัดการ ควรจัดอุปกรณ์ เครื่องมือ เทคโนโลยีในการปฏิบัติหน้าที่ เวรรักษาการณ์ เพิ่มเติม กำหนดเวรรักษาการณ์ล่วงหน้า 1 เดือน สามารถเลือกผลัดได้ สับเปลี่ยนผลัดได้ สามารถกำหนดจุดการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่เวรรักษาการณ์เหมาะสมกับเจ้าหน้าที่ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ จากการศึกษามีข้อเสนอแนะดังนี้ 1.หน่วยงานควรจัดอุปกรณ์ เครื่องมือ ช่วยในการควบคุมผู้ต้องขัง เพิ่มเติมเพื่อลดอัตรากำลังของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติหน้าที่เวรรักษาการณ์ลง 2.ควรปรับการกำหนดหน้าที่เวรรักษาการณ์ เป็น 1 เดือน เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถวางแผนการดำเนินชีวิตในระยะยาว และได้ผ่อนคลายปัญหาการไม่มีเวลาพักผ่อน 3.ควรจัดให้ผู้ปฏิบัติงานเข้ามามีส่วนร่วมในปรับเปลี่ยนการกำหนดหน้าที่เวรรักษาการณ์en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT287.54 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX460.82 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1360.9 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2730.06 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3458.67 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4340.45 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5467.04 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT241.27 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER551.59 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE249.06 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.